28.04.2025 Views

ASA Journal : Outbound (Jan - Feb 2025)

Transform your PDFs into Flipbooks and boost your revenue!

Leverage SEO-optimized Flipbooks, powerful backlinks, and multimedia content to professionally showcase your products and significantly increase your reach.



2025

JAN-FEB

Outbound

theme

OUTBOUND

Architects and Architectures

Beyond Borders

Nawanwaj Yudhanahas writes

about the broader impact of

architects working abroad on

their home and host cultures.

10

theme / review

PHUYEN SOLAR

POWER PLANT

SUBSTATION

Openbox Group has designed

a viewing pavilion and office

spaces in a solar plant power

complex in Vietnam to promote

knowledge exchange in energy

production and sustainability.

20

theme / review

SIMPLE ART

MUSEUM

A contemporary art museum

that delves into the reflections

of artists on society and the

environment, designed by HAS

design and research

28

theme / review

PHNOM PENH

HOUSE

A striking four-story modern

residence in Phnom Penh

designed by EKAR. architects.

38

theme / review

THE CORNER

HOUSE

Department of Architecture

has designed a new shopping

complex in Manila's historic

San Juan district.

44

theme / review

THAILAND

PAVILION

WORLD EXPO

2025

Designed by Architects 49,

Thailand's pavilion for Expo 2025

showcases the country's global

health hub, incorporating

vernacular wisdom, traditional

medicine, gastronomy, and

everyday rituals.

54

professional

HABITA

ARCHITECTS

Habita Architects discuss Thai

architects' unique aspects and

strategies for international

design recognition, emphasizing

that both Thai and

foreign architects present

architecture based on the

site's unique identity.

62

professional / studio

CO TEMPORARY

ARCHITECTS

72

chat

CHUTAYAVES

SINTHUPHAN

The vice president of ASA

shares his responsibilities

for special events and urban

development activities,

including foreign affairs.

76

FOLIO

Natthaphat Chotananwut

80




2025

JAN-FEB

Outbound

The Association

of Siamese Architects

under Royal Patronage

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)

Rama IX Rd., Bangkapi,

Huaykwang, Bangkok 10310

T : +66 2319 6555

F : +66 2319 6419

W : asa.or.th

E : asaisaoffice@gmail.com

Subscribe to ASA Journal

T : +662 319 6555

ASA JOURNAL

COMMITTEE

2024-2026

Advisor

Asae Sukhyanga

Chairperson of Committee

Kulthida Songkittipakdee

Committee

Jenchieh Hung

Namtip Yamali, Ph.D.

Prakan Chunhapong

Quan Phitakraxanti

Secretary

Theerarat Kaeojaikla

บทความหรือภาพที่ลงในวารสาร

อาษาหรือสื่ อออนไลน์ สมาคมฯ

ขอสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย

การนำาบทความหรือภาพจาก

วารสารอาษาไปตีพิมพ์ อ้างอิง

หรือประโยชน์ ใดในสิ่งพิมพ์หรือ

สื่ อออนไลน์อื่น ต้องได้รับอนุญาต

จากสมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของ

ลิขสิทธิ์ตามกฎหมายเท่านั้น

Editor-in-Chief

Mongkon Ponganutree

Editor

Supreeya Wungpatcharapon

Managing Editor

Kamolthip Kimaree

Assistant Editor

Pichapohn Singnimittrakul

Special Thanks

Architects 49

Chutayaves Sinthuphan

CO Temporary Architects

Department of Architecture

EKAR

Habita Architects

HAS design and research

Openbox Group

RMA110 (Right man + A110)

Tokuoka Sekkei

English Translators

Tanakanya Changchaitum

English Editor

Sheena Sophasawatsakul

Graphic Design

art4d WORKS

Wasawat Dechapirom

Sumitra Ingsakunsuk

Photographer

Ketsiree Wongwan

Account Director

Rungladda Chakputra

Print

SUPERPIXEL

Publisher

The Association of

Siamese Architects

Under Royal Patronage

Copyright 2024

No responsibility can be

accepted for unsolicited

manuscripts or photographs.

ISSN 0857-3050

Contact

asajournal@asa.or.th

Contributors

Nawanwaj Yudhanahas

lived in the United

Kingdom and had her

architectural training

in London. Her interest

lies at the intersection of

architecture, contemporary

art, history and

cultural studies; and

currently shares her

views with architecture

students in Thailand.

Bhumibhat Promboot

is currently an architect

and a guest instructor

for the Architecture

Programme and the Integrated

Product Design

Innovation Programme

at Kasetsart University.

He holds the bachelor of

architecture degree from

Kasetsart University

and the Master of Arts

in Architecture from

Staedelschule Architecture

Class in Germany.

Bhumibhat has past

experience as architect

in architecture firms

in Thailand and Japan.

He is also a part-time

writer at art4d.

Surawit Boonjoo

Graduated from the

Faculty of Archeology,

Silpakorn University.

His interest currently is

in art and culture, both

traditional and contemporary.

Korrakot Lordkam

is a Silpakorn University

architecture graduate

with a master’s degree

in achitectural history

from the Bartlett School

of Architecture, UCL

who writes primarily

about houses, design

and architecture.

Kullaphut Seneevong

Na Ayudhaya

is a Field Team Leader

of the Maritime Asia Heritage

Survey Thailand

Project, Kyoto University,

Japan, and a vernacular

architecture Ph.D.

candidate at Silpakorn

University. His research

on the built environment

of the Malay cultural

landscape is being done

out of a passion for

cultural heritage.

Xaroj Phrawong

is an architect, writer,

and instructor at the

Faculty of Architecture

Rajamangala University

of Technology Thanyaburi.

Currently studying

architecture at Kyoto

Institute of Technology

นวันวัจน์ ยุธานหัส

เคยอาศั ยอยู่ ในประเทศ

สหราชอาณาจักร ที่ซึ ่งเธอ

ได้รับการศึ กษาในสาขา

สถาปั ตยกรรม ความสนใจ

ของนวันวัจน์อยู่ที่จุดร่วม

ของสถาปั ตยกรรม ศิ ลปะ

ร่วมสมัย ประวัติศาสตร์

และวัฒนธรรมศึ กษา

ปั จจุบันนวันวัจน์แบ่งปั น

ประสบการณ์และมุมมอง

ด้านสถาปั ตยกรรมกับ

นักศึ กษาในประเทศไทย

ภูมิภัทร พรหมบุตร

ปั จจุบันทำางานเป็ นสถาปนิก

และอาจารย์พิเศษ ที่คณะ

สถาปั ตยกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ในภาควิชาสถาปั ตยกรรม

และภาควิชานวัตกรรม

การออกแบบผลิตภัณฑ์

เชิงบูรณาการ ภูมิภัทร

จบการศึกษาปริญญาตรี

หลักสูตรสถาปั ตยกรรม

ศาสตรบัณฑิต จากคณะ

สถาปั ตยกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

และปริญญาโทจาก

Staedelschule Architecture

Class ประเทศ

เยอรมนี ภูมิภัทรมีประสบ-

การณ์ทำางานในตำาแหน่ง

สถาปนิก ทั้งในประเทศไทย

และประเทศญี่ปุ ่ น และยังมี

ผลงานเขียนบทความทาง

สถาปั ตยกรรมบนเว็บไซต์

art4d

สาโรช พระวงค์

เป็ นสถาปนิก นักเขียน

อาจารย์ประจำาาคณะ

สถาปั ตยกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลธัญบุรี ปั จจุบัน

กำาาลังศึกษาต่อสาขา

สถาปั ตยกรรมที่ Kyoto

Institute of Technology

กรกฎ หลอดคำา

ศึกษาจบปริญญาตรีสาขา

สถาปั ตยกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยศิลปกร

ปริญญาโทสาขา Architectural

History จาก The

Bartlett School of Architecture,

UCL ทำางานเขียน

เรื่องบ้าน งานออกแบบ และ

สถาปั ตยกรรมเป็ นหลัก

กุลพัชร์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา

ปั จจุบันเป็ นหัวหน้านักวิจัย

สำารวจภาคสนามให้กับ Maritime

Asia Heritage Survey

Thailand Project มหาวิทยา

ลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ ่ น

และนักศึกษาปริญญาเอก

สาขาสถาปั ตยกรรมพื้นถิ ่น

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยศิลปากร สนใจ

ศึกษามรดกทางวัฒนธรรม

และขณะนี้กำาลังทำาวิจัย

เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม

สรรค์สร้างในพื้นที่ภูมิทัศน์

วัฒนธรรมมลายู

สุระวิทย์ บุญจู

จบการศึ กษาจากคณะ

โบราณคดี มหาวิทยาลัย

ศิลปากร ปั จจุบันมีความสนใจ

ด้านงานศิ ลปะวัฒนธรรม

ทั้งแบบประเพณีและร่วมสมัย

Photo Courtesy of HAS design and research



06

message from president

รายนามคณะกรรมการ

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม

ในพระบรมราชูปถัมภ์

ประจำป ี 2567-2569

นายกสมาคม

อเส สุขยางค์

อุปนายก

วีระพันธุ์ ชินวัตร.ดบ

ผศ.พิรัส พัชรเศวต

ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์

วุฒิ เทศน์อรรถภาคย์

ต่อบูรณ์ คำา ณ พัฒน์

สารจากนายกสมาคม

ในช่วงหลายปี ที่ผ่านมานี้ สำานักงานสถาปนิกไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ

โดยสร้างสรรค์ผลงานที่ดึงดูดและสร้างแรงบันดาลใจ ทักษะทางเทคนิคและความ

คิดสร้างสรรค์ของพวกเราได้รับการยอมรับทั่วโลก ซึ ่งช่วยเสริมสร้างชื่อเสียงของ

สถาปนิกไทยและมีส่วนร่วมในการอภิปรายเรื่องสถาปั ตยกรรมระดับโลก ความ

สำาเร็จเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพมหาศาลของสถาปนิกไทยในการมีอิทธิพล

ต่อสภาพแวดล้อมที่ถูกสร้างขึ ้นในระดับโลก

วารสารอาษาฉบับนี้ ภายใต้ธีม “Outbound” ได้เน้นถึงแนวทางและมุมมองที่สร้างสรรค์

จากสถาปนิกไทยที่ประสบความสำาเร็จในการขยายตัวออกไปนอกเหนือจากพรมแดน

ของประเทศไทย นี่เป็ นโอกาสในการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อเป็ นแรงบันดาลใจ

ให้คนอื่น ๆ ขยายขอบเขตของตนเอง นอกจากนี้ยังเป็ นสิ่งซึ ่งแสดงถึงความทุ่มเท

และการทำางานหนักที่นำาไปสู่ความสำาเร็จในระดับนานาชาติ ฉบับนี้จึงเป็ นวารสารอีก

ฉบับหนึ ่งที่ผมภาคภูมิใจและอยากให้สมาชิก สถาปนิก และผู้อ่านทุกท่านได้อ่านกัน

ครับ เพราะในวารสารได้บอกเล่าทั้งมุมมอง วิสัยทัศน์ และแนวทางการทำางานที่

น่าสนใจของสถาปนิกไทยที่ได้รับโอกาสเหล่านั้น

สำาหรับทิศทางการทำางานและนโยบายการผลักดันสถาปนิกไทยของทางสมาคมฯ

ที่เรามีความตั้งใจและปั กธงเป็ นภารกิจสำาคัญอีกหนึ ่งภารกิจ ตรงนี้ คุณชุตยาเวศ

สินธุพันธุ์ ได้ ให้สัมภาษณ์ ในคอลัมน์ chat เพื่อให้ทุกท่านได้อัปเดทและเป็ นกำาลัง

ใจให้กับโครงการใหม่ ๆ ของพวกเราที่มีความคาดหวังอยากจะให้มันเกิดขึ ้น ไม่ว่า

จะเป็ นการได้รับโอกาสเป็ นประธานจัดงานระดับโลก หรือเรื่อง Transit Oriented

Development (TOD) รูปแบบการพัฒนาพื้นที่รอบบริเวณสถานีรถไฟฟ้ าของ

สมาคมฯ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ ่งเรื่องนี้จะเป็ นหนึ ่งประเด็นสำาคัญของฟอรัมใหญ่

ในงานสถาปนิก’68 ปี นี้ด้วย ผมขอเชิญชวนให้ทุกท่านติดตามข้อมูลทางสื่ อออนไลน์

วารสารอาษา และกิจกรรมต่าง ๆ ของสมาคมฯ กันด้วยครับ เพราะการมีส่วนร่วม

ของทุกท่านจะเป็ นสิ่ งสำาคัญในการผลักดันให้กิจกรรมต่าง ๆ ของสมาคมเกิด

ประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกต่อไป

เลขาธิการ

ทรงพจน์ สายสืบ

นายทะเบียน

พ.ต.อ.สักรินทร์ เขียวเซ็น

เหรัญญิก

วีรยา ศันสนะเกียรติ

ปฏิิคม

ทูนธรรม สุโฆสิต

ประชาสัมพันธ์

กุลธิดา ทรงกิตติภักดี

กรรมการกลาง

ปองขวัญ ลาซูส

ธงชาติ ชินสีห์

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ์

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์

อดุลย์ แก้วดี

ผศ.ณธทัย จันเสน

ประธานกรรมาธิการ

ภูมิภาคล้านนา

สันธยา คชสารมณี

ประธานกรรมาธิการ

ภูมิภาคอีสาน

ปกิต ห้างหว้า

ประธานกรรมาธิการ

ภูมิภาคทักษิิ ณ

ดร.กาญจน์ เพียรเจริญ

ประธานกรรมาธิการ

ภูมิภาคบูรพา

พู ลชัย เรืองศิลปานันท์


07

In the past few years, Thai architectural firms have achieved

international recognition for their designs that captivate and

inspire. The reputation of Thai architecture has been enhanced,

and the global architectural discourse has been enriched by the

worldwide recognition of its technical skills and creativity.

The vast potential of Thai architects to significantly impact the

global built environment is underscored by these accomplishments.

This issue of the ASA Journal, under the theme “Outbound,”

emphasizes the innovative strategies and perspectives of Thai

architects who have successfully expanded beyond the country’s

borders. It offers the chance to learn from their experiences,

thereby encouraging others to expand their perspectives. It

also serves as a testament to the hard work and dedication

that have contributed to their global success. Another issue

of the ASA Journal, themed “Outbound,” is one of which I am

particularly proud and would encourage all architects and

readers to peruse. It illustrates the perspectives, visions, and

working methods of Thai architects who have been afforded

such opportunities.

This also underscores the policies and direction of work that

the Association of Siamese Architects under Royal Patronage

has pursued to promote Thai architects during my tenure as

president. We are dedicated to this mission, and it has become

one of our primary objectives. Chutayaves Sinthuphan

will be interviewed in the “chat” column in this edition to

provide an update and offer support for our new initiatives,

which we anticipate will be successful. The opportunity to

host a world-class event and the subject of Transit-Oriented

Development (TOD) are among the topics that are being

discussed. TOD is a method of developing areas around metro

stations to optimize their benefits. This subject will also be a

significant topic of discussion at the Architect'25 forum this

year. I encourage all individuals to remain informed by means

of online media, ASA journals, and the numerous activities that

the association organizes. Your involvement will be essential in

ensuring that all of our members receive the maximum benefit

from the association’s activities.

ASA COMMITTEE

2024-2026

President

Asae Sukhyanga

Vice President

Weeraphan Shinawatra. Ph.D.

Asst.Prof.Pirast Pacharaswate

Chutayaves Sinthuphan

Wut Thet-Atthaphak

Torboon Khamnaphat

Secretary General

Songpot Saisueb

Honorary Registrar

Pol.Col.Sakarin Khiewsen

Honorary Treasurer

Veeraya Sansanakiet

Social Event Director

Toontam Sukosit

Public Relations Director

Kulthida Songkittipakdee

Executive Committee

Pongkwan Lassus

Thongchad Chinasi

Asst.Prof.Rattapong Angkasith, Arch.D.

Prof.Tonkao Panin, Ph.D.

Adul Kaewdee

Asst.Prof.Nathathai Jansen

Chairman of

Northern Region (Lanna)

Santaya Kotchasanmanee

Chairman of

Northeastern Region (Esan)

Pakit Hangwah

Chairman of

Southern Region (Taksin)

Dr. Karn Phiancharoen

Chairman of

Eastern Region (Burapa)

Pulchai Ruengsilpanan



foreword

09

สถาปั ตยกรรมไทยในต่างแดนที่เราคุ้นเคยกันมากที่สุด น่าจะเป็ น

“ศาลาทรงไทย“ ที่เริ่มมีการสร้างตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ ่ง

นอกจากจะเป็ นสัญลักษณ์ของความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่าง

ประเทศไทยและแต่ละประเทศแล้ว ยังเป็ นภาพจำาของความเป็ น

ไทยในรูปแบบของไทยพุ ทธ ผ่านรูปทรงภาษาของสถาปั ตยกรรม

อีกด้วย นอกเหนือจากศาลาทรงไทยประเพณี การออกแบบศาลา

ไทยในงาน World Expo แต่ละครั้ง ยังเป็ นอีกหนึ ่งสัญลักษณ์ของ

สถาปั ตยกรรมไทยร่วมสมัยในต่างแดน ที่มีการออกแบบผ่านการ

ตีความสั มพันธ์ ไปกับบริบทของเนื้ อหาการจัดแสดงในแต่ละปี

ผนวกกับที่ตั้งของประเทศเจ้าภาพหมุนเวียนกัน สถาปั ตยกรรม

ไทยในต่างแดนจึงมีบทบาทเสมือน “เครื่องมือทางวัฒนธรรม”

ในการสื่ อสาร เชื่อมโยง ส่งออกคุณค่าความเป็ นไทยผ่าน

สถาปั ตยกรรมในแต่ละช่วงสมัย

วารสารอาษาฉบับ Outbound นี้ เป็ นหนึ ่งในความตั้งใจของการ

ถ่ายทอดถึงสถาปั ตยกรรมโดยสถาปนิกไทยที่สร้างในต่างประเทศ

ณ ห้วงเวลาปั จจุบัน ที่นอกจากจะโชว์ศั กยภาพความสามารถของ

สถาปนิกไทย ยังสะท้อนถึงบทบาทของสถาปั ตยกรรมในมิติอื่น ๆ

นอกเหนือจากความเป็ นเครื่องมือทางวัฒนธรรม่ ผลงานในเล่ม

ประกอบด้วยประเภทสถาปั ตยกรรมที่หลากหลาย ทั้งบ้านพัก

อาศั ยในพนมเปญโดย EKAR อาคารโซล่าร์ฟาร์มในเวียดนาม

โดย Openbox Group อาคารพาณิชยกรรมโดย Department

of Architecture ในกรุงมนิลา พิพิธภัณฑ์ ในศู นย์การค้าเมือง

เหอเฟย โดย HAS Design and Research และอาคารศาลาไทย

ใน World Expo Osaka 2025 โดย Architects 49 รวมไปถึงการ

พู ดคุยกับบริษัทสถาปนิกที่ฝากผลงานการออกแบบโครงการ

ประเภทโรงแรมรีสอร์ตไว้ ในหลายประเทศอย่าง Habita Architects

และสถาปนิกรุ่นใหม่ CO Temporary Architects ที่เริ ่มมีผล

งานในต่างประเทศ

สถาปั ตยกรรมในยุคของโลกสมัยใหม่นี้ ที่การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ

กำาลังมีอิทธิพลข้ามขอบเขตของพรมเเดนทางกายภาพ และแสดง

ตนอยู่ในรูปของโลกเสมือน การสร้างผลงานโดยสถาปนิกต่างแดน

ในเมืองใดเมืองหนึ ่งบนผิวโลกจึงเป็ นเรื่องที่เกิดขึ ้นได้ทั่วไป ไม่ใช่

เพียงฐานะทางเครื่องมือทางวัฒนธรรม หรือทางเศรษฐกิจเพียง

เท่านั้ น อีกทั้ งด้วยสถานการณ์ทางสิ่ งแวดล้อม รวมไปถึง

สถานการณ์ทางการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่าง ๆ

ที่ เข้ มข้ นขึ ้นในห้วงทศวรรษนี้ กำาลังทำาให้การสร้างสรรค์ผลงาน

สถาปั ตยกรรมในต่างแดนมีนัยที่หลากหลายขึ ้น แต่สถาปนิกชาติ

ใด ก็คงไม่สามารถปฏิเสธถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมของ

โลกใบเดียวกันนี้ หรือจริยธรรมทางการออกแบบและการทำางาน

ของสถาปนิก หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ในกระบวนการก่อสร้างทั้งหมด

ที่มีผลต่อชีวิตและความปลอดภัยของมนุษย์ที่หลากหลายในเมือง

Among the most widely recognized expressions of

outbound Thai architecture is the “Sala,” or traditional

Thai pavilion—structures that began appearing internationally

during the late reign of King Rama V. These pavilions

have long served not only as emblems of diplomatic

relations between Thailand and host nations, but also as

visual and spatial distillations of Thai identity, articulated

through the formal language of Buddhist architecture.

While these traditional Sala structures continue to endure

as potent symbols, the design of Thai pavilions for recurring

World Expositions has introduced a parallel trajectory—

one that represents a contemporary iteration of Thai architecture

on the global stage. These architectural statements

respond to each Expo’s curatorial theme and the geographical

and cultural particularities of the host country. In this

way, Thai architecture abroad has consistently functioned

as a kind of “cultural instrument”—a means of communication,

connection, and the transmission of Thai values

across borders and through time.

The Outbound issue of ASA Journal emerges from this

context of cross-border architectural practice. It seeks to

capture the present moment through the lens of Thai

architects working internationally—whose projects not

only showcase design acumen but also reveal the evolving

role of architecture beyond cultural representation.

The featured works encompass a diverse array of building

typologies: a private residence in Phnom Penh by EKAR

a solar farm facility in Vietnam by Openbox Group; a

commercial building in the heart of Manila by

the Department of Architecture; a museum embedded

within a shopping complex in Hefei by HAS design

and research; and the Thai Pavilion for the upcoming

World Expo Osaka 2025 by Architects 49. The issue also

includes conversations with firms such as Habita Architects—recognized

for their hospitality projects across

multiple countries—and CO Temporary Architects, an

emerging practice beginning to establish its presence

beyond Thailand’s borders.

In an era where economic forces increasingly transcend

physical boundaries and manifest in virtual realms,

the image of an architect working in a distant city no

longer feels exceptional. The forces shaping architecture

today extend far beyond matters of culture or commerce.

Environmental precarity, political volatility, and deepening

global entanglements have imbued the discipline with

new levels of complexity. For architects of all nationalities,

questions of global responsibility—environmental

ethics, socially responsive design, and the broader implications

of construction on human life—have come to the

fore.


10

theme

1

OUTBOUND:

Architects and

Architectures

Beyond Borders

Outbound (adj.): travelling or being taken or sent away from a

particular point (Cambridge Dictionary)

Text: Nawanwaj Yudhanahas


OUTBOUND

11

The meaning of ‘outbound’ suggests that three parties are

involved: the party at the departure point, the other at the

arrival point, and what is being sent from one point to another.

The exporter and the importer, the sender and the recipient,

and the newcomer and the host—the travelling content sent

away—acts as an intermediary between A and B. The intermediary

can have an impact, either beneficial or detrimental, that

may radiate through the two sides. If the travelling content is a

living being, the results from going ‘outbound’ would also impact

it—shaping it, reforming it, and perhaps, leaving a legacy to its

following generations.

1

Serpentine Pavilion

ปี ค.ศ. 2016 โดย

สถาปนิิกชาว

เดนิมาร์์ก Bjarke

Ingels Group (BIG)

In this issue of ASA Journal, we will be looking at the ‘outbound’

of Thai architects. The issue will cover buildings designed by

Thai architects that are located abroad. But before we delve

into current architectural projects, let us investigate the past

and the social and economic aspects that come with the theme

‘outbound.’

Outbound (คำาคุณศั พท์) การเดินทางหรือการถูกนำาหรือถูกส่งออกไปจากจุดใดจุดหนึ ่ง

(พจนานุกรม Cambridge)

ความหมายของคำาว่า ‘outbound’ แสดงให้เห็นว่ามีสามฝ่ ายเข้ามาเกี่ยวข้อง ฝ่ ายที่อยู่ที่

จุดออกเดินทาง ฝ่ ายที่อยู่ที่จุดมาถึง และเนื้อหาของสิ่งที่จะถูกส่งจากจุดหนึ ่งไปยังอีกจุด

หนึ ่ง เราอาจเรียกสองฝ่ ายที่อยู่ต้นทางและปลายทางว่า ผู้ส่งออกและผู้นำาเข้า ผู้ส่งและ

ผู้รับ ผู้มาใหม่และเจ้าบ้าน โดยที่เนื้อหาของสิ่งที่จะถูกส่งออกไป จะทำาหน้าที่เป็ นตัวกลาง

ระหว่างสองฝั ่ ง ตัวกลางสามารถนำามาซึ ่งผลลัพธ์ ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ ่ง ไม่ว่าจะเป็ น

ผลดีหรือเป็ นผลลบ ผลลัพธ์นี้จะส่งผ่านทั้งสองฝ่ ายที่ต้นทางและปลายทาง และหากสิ่งที่

ถูกส่งออก เป็ นสิ่งมีชีวิต ผลลัพธ์ที่เกิดจากการ ‘outbound’ ก็จะส่งผลต่อตัวมันเองด้วย

มันอาจจะถูกหล่อหลอม ปรับเปลี่ยน หรืออาจจะทิ้งมรดกบางอย่างไว้ ให้รุ่นหลังต่อไป

ในวารสารอาษาเล่มนี้ เราจะพู ดถึงการ “outbound” ของสถาปนิกไทย โดยการสำารวจ

อาคารที่ตั้งอยู่ในต่างประเทศ และออกแบบโดยสถาปนิกไทย แต่ก่อนที่เราจะสำารวจ

โครงการสถาปั ตยกรรมในปั จจุบัน เรามาสำารวจอดีตและแง่มุมทางสังคมและเศรษฐกิจ

ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ “outbound” กันก่อน

Photo Reference

1. Photo Credits: Photo Courtesy of Writer


12

theme

2.1

2.2

เมื่อปีที่ี่แลี้ว ผู้เขียนิมีโอกาสได้ไปชมนิิที่ร์ร์ศการ์ศิลีปะ

นิานิาชาตั้ิคร์้งที่ี่ 60 หร์ือ Biennale Arte 2024 หร์ือมักถูก

เร์ียกในิชื่อไม่เป็นิที่างการ์ก้นิว่าเวนิิสเบียนินิาเลี่มหกร์ร์ม

ศิลีปะนิานิาชาตั้ิคร์้งนิี้มีภัณฑาร์้กษ์คือ อาเดร์ียโนิ เปโดร์ซา

แลีะใช้ชื่อธีมงานิว่า Stranieri Ovunque - Foreigners

Everywhere หร์ือ ชาวตั้่างชาตั้ิในิทีุ่กหนิทีุ่กแห่ง ในิห้องโถง

ใหญ่ของบร์ิเวณอาร์์เซนิาเลี ซึ่งเป็นิหนิึ่งในิสถานิที่ี่จัดงานิ

หลี้ก ได้จัดแสดงนิิที่ร์ร์ศการ์ที่ี่เร์ียกว่า Nucleo Storico -

Italians Everywhere หร์ือ ชาวอิตั้าเลีียนิในิทีุ่กหนิทีุ่กแห่ง

ซึ่งมีชื่อลี้อไปกับธีมใหญ่ของงานิ แลีะจัดแสดงผลีงานิของ

ศิลีปินิชาวอิตั้าเลีียนิที่ี่เดินิที่างไปที่ำางานินิอกปร์ะเที่ศอิตั้าลีี

ที่่ามกลีางผลีงานิจำานิวนิมากมายหลีายชิ้นิ ก็มีภาพวาดในิ

กร์อบสีที่อง 2 ภาพ ลี้กษณะของภาพบ่งบอกว่าเป็นิผลีงานิ

สไตั้ลี์ตั้ะว้นิตั้กอย่างไม่ตั้้องสงสัย แตั้่ที่ิวที่้ศนิ์แลีะตั้้วลีะคร์

ดูเหมือนิจะมาจากเอเชียตั้ะว้นิออกเฉียงใตั้้ หร์ืออาจจะเป็นิ

ปร์ะเที่ศไที่ยเสียด้วยซ้ำา คำาอธิบายภาพเฉลียให้เห็นิว่าเป็นิ

ผลีงานิของกาลีีเลีโอ กีนิี (Galileo Chini) แลีะเซซาเร์ แฟร์์โร์

มิโลีเนิ (Cesare Ferro Milone) ศิลีปินิชาวอิตั้าเลีียนิ 2 ที่่านิ

ที่ี่เดินิที่างมาที่ำางานิให้กับร์าชสำานิ้กสยามในิร์้ชสมัยของ

พร์ะบาที่สมเด็จพร์ะจุลีจอมเกลี้าเจ้าอยู่หัวแลีะพร์ะบาที่

สมเด็จพร์ะมงกุฎเกลี้าเจ้าอยู่หัว ภาพวาดของกีนิีแสดงให้เห็นิ

วัดไที่ยในิยามค่ำา ในิปี ค.ศ. 1912 ส่วนิภาพวาดของมิโลีเนิ

เป็นิภาพของนิางร์ำานิาฏศิลีป์แบบไที่ย ที่ี่วาดเมื ่อปี ค.ศ. 1925

โซนินิิที่ร์ร์ศการ์ ชาวอิตั้าเลีียนิในิทีุ่กหนิทีุ่กแห่ง ไม่ได้เพียง

แค่ร์วบร์วมผลีงานิของศิลีปินิชาวอิตั้าเลีียนิที่ี่ “outbound”

เที่่านิ้นิ แตั้่ผลีงานิแตั้่ลีะชิ้นิยังจัดแสดงบนิ cavaletes de vidro

หร์ือ ขาตั้้งกร์ะจกที่ี่ออกแบบโดย Lina Bo Bardi ผู้ซึ่งเช่นิ

เดียวกับศิลีปินิคนิอืนิ ๆ ในิห้องนิิที่ร์ร์ศการ์เดียวก้นิ เธอก็

เป็นิหนิึ่งในิ “ชาวอิตั้าเลีียนิในิทีุ่กหนิทีุ่กแห่ง” เนิื่องจากเธอ

เป็นิสถาปนิิกชาวอิตั้าเลีียนิที่ี่ย้ายไปอยู่ปร์ะเที่ศบร์าซิลีในิปี

ค.ศ. 1946

Last year, I had a chance to visit the 60th International

Art Exhibition, the Biennale Arte 2024, often

known by its unofficial name, the ‘Venice Biennale.’

Curated by Adriano Pedrosa, the 2024 edition is

titled Stranieri Ovunque—Foreigners Everywhere.

Echoing the title of the edition, a large hall in the

Arsenale, one of the two main venues of the event,

presented a section titled Nucleo Storico—Italians

Everywhere. It showcased the works of Italian

artists who went to work outside Italy. Among

several works were two paintings in gold frames.

They were Western in style, but the subjects were

Southeast Asian—and possibly Thai. The captions

revealed that they belonged to the works of Galileo

Chini and Cesare Ferro Milone, two Italian artists

who came to work for the Siamese court during the

reigns of King Chulalongkorn and King Vajiravudh.

Chini’s painting depicts a Thai temple scene at

night in 1912, while Milone’s painting, 1925, is a

portrait of a traditional Thai dancer. Italians Everywhere

did not simply gather works by ‘outbound’

Italian artists. But each work was also displayed

on a cavaletes de vidro, a glass easel designed by

Lina Bo Bardi, who was also, like other artists in the

same hall, an ‘Italian Everywhere,’ as she was an

Italian architect who moved to Brazil in 1946.

2.1

ภาพวาดของกาลีีเลีโอ

กีนีี แลีะเซซาเร์

แฟร์์โร์ มิโลีเนิ

2.2

ขาตั้้งกร์ะจกที่่

ออกแบบโดย Lina

Bo Bardi

Photo Reference

2.1-3.1 Photo Credits: Photo Courtesy of Writer


การ์ได้เห็นิภาพปร์ะเที่ศไที่ยที่ี่ศิลีปินิตั้่างชาตั้ิถ่ายที่อดจัด

แสดงบนิเวที่ีร์ะดับโลีกในิเมืองเวนิิส ที่ำาให้ร์ู้สึกปลีื้มใจอยู่ไม่

นิ้อย แตั้่มากกว่าความอุ่นิใจที่ี่ได้เห็นิสิ่งที่ี่คุ้นิเคยในิตั้่างแดนิ

หร์ือความร์ู้สึกภูมิใจในิวัฒนิธร์ร์มของชาตั้ิ คือภาพวาด

ที่้งสองภาพนิี้ เป็นิเหมือนิตั้้วแที่นิที่ี่แสดงให้เห็นิว่า กร์ะแส

การ์เดินิที่างของ “outbound” นิ้นินิำามาซึ่งอะไร์ การ์ที่ี่ห้อง

นิิที่ร์ร์ศการ์ ชาวอิตั้าเลีียนิในิทีุ่กหนิทีุ่กแห่ง อยู่ในิโซนิของ

นิิที่ร์ร์ศการ์ที่ี่เร์ียกว่า Nucleo Storico แปลีตั้ร์งตั้้วได้ว่า

แก่นิที่างปร์ะว้ตั้ิศาสตั้ร์์ เป็นิเคร์ื่องพิสูจนิ์ว่า “outbound”

ส่งผลีตั้่อปร์ะว้ตั้ิศาสตั้ร์์ ไม่ใช่แค่เพียงตั้่อสองปร์ะเที่ศที่ี่อยู่

ตั้้นิที่าง - ปลีายที่างเที่่านิ้นิ แตั้่ยังร์วมถึงปร์ะเที่ศอืนิ ๆ ด้วย

ปัจจุบ้นิ ขาตั้้งกร์ะจกที่ี่ออกแบบโดยสถาปนิิก Lina Bo Bardi

ได้กลีายเป็นิว้ตั้ถุสำาคัญในิปร์ะว้ตั้ิศาสตั้ร์์การ์จัดแสดง

นิิที่ร์ร์ศการ์ของโลีก แลีะในิสมัยที่ี่ยังไม่มีอินิเที่อร์์เนิ็ตั้ที่ี่

ช่วยให้เร์าเร์ียนิร์ู้ว่าปร์ะเที่ศที่ี่อยู่คนิลีะซีกโลีกหนิ้าตั้าเป็นิ

อย่างไร์ ภาพวาดของกีนิีแลีะมิโลีเนิ ก็เป็นิภาพตั้้วแที่นิของ

สยาม ไม่เพียงตั้่อผู้ชมชาวอิตั้าเลีียนิเที่่านิ้นิ แตั้่ยังร์วมถึง

ปร์ะเที่ศอืนิในิยุโร์ปด้วย แลีะผู้เขียนิเอง ซึ่งอยู่ที่ี่อีกฝั่งหนิึ่ง

ของการ์ “outbound” ของชาวอิตั้าเลีียนิเหลี่านิี้ คือเป็นิผู้

อยู่ปร์ะเที่ศตั้้นิที่าง ก็ได้ถูกสะกิดให้สำาร์วจเอกลี้กษณ์ของ

สถาปัตั้ยกร์ร์มวัดไที่ยอย่างถี่ถ้วนิ ไม่ว่าจะเป็นิการ์ปูที่าง

เดินิ ร์าวบ้นิได สัดส่วนิของเสา ผ่านิภาพที่ี่กีนิีวาดไว้ แลีะ

ถูกสะกิดให้เห็นิว่าผ้าไที่ยมีความแวววาวไม่เหมือนิใคร์

แลีะปร์ะณีตั้ขนิาดไหนิ แลีะงานิฝีมือในิการ์จัดการ์กับผ้า

แลีะเส้นิที่อง เป็นิเอกลี้กษณ์ของวัฒนิธร์ร์มไที่ยอย่างไร์ ก็

จากภาพวาดของมิโลีเนิ กลี่าวได้ว่า การ์ได้เห็นิสิ่งที่ี่คุ้นิเคย

ผ่านิสายตั้าจากคนิที่ี่มาจากที่ี่อืนิ (“outbound”) ที่ำาให้เร์า

สำาร์วจสิ่งที่ี่เร์าคุ้นิชินิจนิอาจมองข้ามร์ายลีะเอียดไปอีกคร์้ง

เร์ามองเห็นิตั้้วเองในิมุมมองใหม่ที่ีตั้่างไปจากเดิม

กาลีีเลีโอ กีนิี แลีะเซซาเร์ แฟร์์โร์ มิโลีเนิ ไม่ใช่ชาวอิตั้าเลีียนิ

เพียงสองคนิเที่่านิ้นิที่ีร์าชสำานิ้กสยามเชิญให้มาที่ำางานิ

ในิปร์ะเที่ศไที่ยในิขณะนิ้นิ ขณะที่ี่สยามกำาลี้งได้ร์้บการ์

ปร์้บปร์ุงให้ที่้นิสมัยในิหลีากหลีายด้านิ กร์ุงเที่พมหานิคร์

ได้ร์้บการ์เปลีี่ยนิแปลีงที่างกายภาพคร์้งใหญ่ สถาปนิิกที่ี่

“outbound” จากปร์ะเที่ศอิตั้าลีีมายังสยามมีส่วนิสำาคัญ

ในิช่วงการ์เปลีี่ยนิแปลีงบ้านิเมือง สถาปนิิกชาวอิตั้าเลีียนิ

ออกแบบพร์ะร์าชวัง สะพานิ แลีะอนิุสร์ณ์ ตั้ามแบบอย่าง

ของเมืองตั้ะว้นิตั้กที่ี่ได้ร์้บการ์ยอมร์้บว่ามีอาร์ยธร์ร์ม แตั้่

นิอกเหนิือจากสถาปัตั้ยกร์ร์มแบบพร์ะร์าชวังอ้นิยิ่งใหญ่

ในิกร์ุงเที่พฯ หากเร์ามองออกนิอกกร์ุงเที่พฯ ก็จะพบกับ

งานิสถาปัตั้ยกร์ร์มที่ี่เป็นิผลีลี้พธ์จากการ์ “outbound”

ของสถาปนิิกอิตั้าเลีียนิมายังปร์ะเที่ศไที่ย ที่ี่เป็นิงานิ

สถาปัตั้ยกร์ร์มที่ี่ถ่อมตั้้ว ไม่โอ่อ่านิ้ก แลีะเป็นิบที่เร์ียนิที่ี่ดี

เกี่ยวกับสถาปัตั้ยกร์ร์มที่ีตั้อบสนิองตั้่อสภาพอากาศในิ

ที่้องถิ่นิให้กับสถาปนิิกปัจจุบ้นิ

OUTBOUND

Seeing a piece of Thai identity captured by foreign

artists and showcased on a grand global stage in

Venice did bring me joy. But beyond the comfort of

seeing familiar sights abroad and the nationalistic

pride, these two paintings serve as a reminder of

what an ‘outbound’ flux brings. The fact that this

section of the mega exhibition is called the Nucleo

Storico, literally translated as the Historical Nucleus,

testifies to how the act of going ‘outbound’

shapes the history, not just of two countries at

either end, but beyond. Lina Bo Bardi’s cavaletes

de vidro became an important object in the world

history of exhibition displays. In the time when

there was no Internet that allowed us to learn what

another country on the other side of the world

looked like, paintings by Chini and Milone served

as representations of Siam to not just Italians but

to other European nations in the early twentieth

century. And I, on the other end and a century later,

was reminded of the details so particular in Thai

temples—the pavement, the balustrade, the proportions

of the column, as depicted by Chini, and

how glittering and elaborate Thai fabrics are, as

illustrated by Milone, and how such craftsmanship

is unique to the country. Seeing the familiar things

portrayed by others prompts us to see what we

may overlook and, ultimately, refreshes how we

see ourselves.

Galileo Chini and Cesare Ferro Milone were not

the only two Italians the Court of Siam invited to

work in Thailand at the time. As Siam was being

modernized in many ways, Bangkok was significantly

transformed both in terms of infrastructure

and urban planning. The ‘outbound’ of architects

from Italy to Siam played a part in this diplomatic

modernization period, designing palaces, villas,

bridges, and monuments that follow the ‘civilized’

western cities. However, aside from grand palatial

architecture, further from Bangkok, this outbound

and inbound between the two countries has left

us with a more modest example—and a valuable

lesson in architecture that responds to the local

climate.

3.1

พร์ะร์าชนิิเวศนิ์

มฤคที่ายว้นิ

13

3.1


14

theme

พร์ะร์าชนิิเวศนิ์มฤคที่ายว้นิในิอำาเภอชะอำา จังหวัดเพชร์บุร์ี

สร์้างเสร์็จในิปี พ.ศ. 2467 ปร์ะกอบด้วยอาคาร์ 3 กลีุ่ม

ที่อดยาวออกไปหลีายร์้อยเมตั้ร์ อาคาร์ยกตั้้วขึนิจาก

พืนิด้วยแนิวเสาที่ีร์ายเร์ียง ตั้้วอาคาร์ที่ำาจากไม้สัก

เป็นิโคร์งสร์้างที่ี่เบา แลีะมีการ์เชื่อมตั้่อร์ะหว่างอาคาร์

ด้วยที่างเดินิที่ี่เปิดโลี่งมีหลี้งคาก้นิแดดก้นิฝนิ ในิด้านิ

ร์ูปที่ร์ง อาคาร์หลี้งนิี้ยาวแลีะแผ่ไปในิแนิวร์าบ สะที่้อนิ

ไปกับเส้นินิอนิของที่้องที่ะเลีได้อย่างเร์ียบง่าย ในิด้านิ

ปร์ะสิที่ธิภาพของอาคาร์ อาคาร์ก็ใช้ปร์ะโยชนิ์จากลีม

ที่ะเลีในิตั้อนิกลีางว้นิ แลีะลีมบกในิตั้อนิกลีางคืนิ ผ่านิ

องค์ปร์ะกอบที่างสถาปัตั้ยกร์ร์ม อย่างเพดานิสูง ช่อง

เปิด แลีะที่ิศที่างการ์วางตั้้วของอาคาร์ พร์ะร์าชนิิเวศนิ์-

มฤคที่ายว้นิออกแบบโดยสถาปนิิกชาวอิตั้าเลีียนิ แอร์์

โกเลี ม้นิเฟร์ดี (Ercole Manfredi) ตั้ามแบบร์่างเบื้อง

ตั้้นิที่ี่พร์ะบาที่สมเด็จพร์ะมงกุฎเกลี้าเจ้าอยู่หัวที่ร์งร์่าง

ขึนิ พร์ะร์าชวังฤดูร์้อนิแห่งนิี้ เป็นิผลีงานิของสถาปนิิก

“outbound” จากปร์ะเที่ศอิตั้าลีี แตั้่วิลีลี่าร์ิมที่ะเลีของอิตั้าลีี

นิ้นิแที่บจะไม่มีอะไร์เหมือนิกับพร์ะร์าชนิิเวศนิ์มฤคที่ายว้นิ

เลีย ผลีงานิชิ้นินิี้จึงเป็นิผลีงานิของคนิ “outbound” แตั้่เกิด

จากการ์ร์่วมมือกับความเป็นิที่้องถิ่นิแลีะปร์้บตั้้วให้เข้ากับ

สภาพแวดลี้อมในิปร์ะเที่ศเจ้าบ้านิไปแลี้ว กลี่าวก้นิว่า

ม้นิเฟร์ดี ร์้บปร์ะที่านิอาหาร์ไที่ยในิแบบที่ี่คนิไที่ยที่านิ เข้า

สังคมกับเพื่อนิชาวไที่ย อีกที่้งพูดแลีะเขียนิภาษาไที่ยได้

อย่างคลี่องแคลี่ว บางที่ีการ์ร์้บเอาวัฒนิธร์ร์มของปร์ะเที่ศ

เจ้าบ้านิมาอย่างกลีมกลีืนิของเขาอาจเป็นิปัจจัยสำาคัญที่ี่

ที่ำาให้ผลีงานิชิ้นิเอกชิ้นินิี้ออกมาเป็นิแบบนิี้ กลีายเป็นิของ

เก่าที่ี่เป็นิแบบอย่างที่ี่ดีสำาหร์้บปัจจุบ้นิในิการ์เป็นิสากลี เป็นิ

ที่้องถิ่นิดั้งเดิม แลีะเป็นิคนิใส่ใจสิ่งแวดลี้อมในิเวลีาเดียวก้นิ

Mrigadayavan Palace in Cha-am, Phetchaburi Province,

was completed in 1924. The palace consists

of three groups of buildings, stretched over a few

hundred meters and connected to each other by a

long covered walkway. Pillars raise the building from

the ground, above which sit the lighter teak buildings

and roofed, open-air hallways. Form-wise, it is a long,

low building that modestly echoes the horizontality

of the sea. Performance-wise, it capitalizes on the

sea breeze during the day and the mountain breeze

at night thanks to its high ceilings, perforated motifs,

openings, orientation, and so on. The palace was designed

by Italian architect Ercole Manfredi, following

a preliminary sketch by King Vajiravudh. The summer

palace is a product of the ‘outbound’ architect. But

Italian villas by the seas are hardly anything like

Mrigadayavan Palace. It is a product of ‘outbound’

but one that collaborated with the locals and has

acclimatized itself to the local climate. Ercole Manfredi

reportedly ate Thai food, surrounded himself

with Thai friends, and spoke and wrote Thai fluently.

Perhaps his cultural adoption played a part in this

masterpiece—a worthy precedent for contemporary

architects on how to be international, local, and

environmentally sensitive simultaneously.

3.2

3.2

พร์ะร์าชนิิเวศนิ์

มฤคที่ายว้นิ

Photo Reference

3.2 -4.2 Photo Credits: Photo Courtesy of Writer


เมื่อกว่าร์้อยปีที่ี่แลี้ว ชาวกร์ุงเที่พฯ คงจะตั้ืนิตั้าตั้ืนิใจกับ

การ์เห็นิสถาปัตั้ยกร์ร์มตั้ะว้นิตั้กที่ี่ไม่คุ้นิเคย ในิศตั้วร์ร์ษที่ี่

21 เมืองในิปัจจุบ้นิ ก็ยังสามาร์ถได้ร์้บปร์ะโยชนิ์จากพลี้ง

จาก “outbound” ที่ีนิำามาโดยคนินิอกได้เช่นิก้นิ เพร์าะ

พลี้งของความแปลีกใหม่นิี้ สามาร์ถที่ำาให้เมืองมีชีวิตั้ชีวา

สร์้างแร์งบ้นิดาลีใจให้กับผู้อยู่อาศัย

Serpentine Galleries เป็นิหอศิลีป์ที่ีตั้้งอยู่ในิสวนิสาธาร์ณะ

ในิกร์ุงลีอนิดอนิ ในิแตั้่ลีะปีเมื่อสภาพอากาศเอื้ออำานิวย

หอศิลีป์แห่งนิี้จะได้ขยายอาณาเขตั้ออกไปภายนิอก ในิช่วง

ปี ค.ศ. 2000 Serpentine Galleries เร์ิ่มว่าจ้างโคร์งการ์

สถาปัตั้ยกร์ร์มปร์ะจำาปีที่ี่เร์ียกว่า Serpentine Pavilion

ซึ่งเป็นิโคร์งสร์้างชั่วคร์าวที่ี่มีร์ะยะเวลีาเพียงสี่เดือนิตั้้งแตั้่

เดือนิมิถุนิายนิถึงเดือนิตัุ้ลีาคมของทีุ่กปี Serpentine

Pavilion มีลี้กษณะเป็นิสถาปัตั้ยกร์ร์มกึ่งกลีางแจ้ง โดย

ใช้เป็นิร์้านิกาแฟ ที่ี่พบปะปร์ะชุม แลีะสถานิที่ี่สำาหร์้บจัด

กิจกร์ร์มที่างวัฒนิธร์ร์ม เช่นิ การ์เสวนิา แลีะการ์แสดงสด

การ์ปร์ะกาศชื่อสถาปนิิกที่ี่ได้ร์้บคัดเลีือกให้เป็นิผู้ออกแบบ

ในิแตั้่ลีะปี จะเกิดขึนิในิช่วงเดือนิมกร์าคม ที่ีนิ่าสนิใจคือ

Serpentine Galleries กำาหนิดกฎว่าสถาปนิิกที่ี่ได้ร์้บ

คัดเลีือกจะตั้้องไม่เคยสร์้างอาคาร์ใดในิสหร์าชอาณาจักร์

มาก่อนิ จะว่าไปข้อกำาหนิดนิี้ก็เป็นิการ์ร์้บร์องว่าบุคคลี

“outbound” ที่ี่จะได้ร์้บคัดเลีือกนิี้จะนิำาแนิวคิดใหม่ ๆ มา

ให้ ซึ่งเป็นิสิ่งที่ี่คนิในิที่้องถิ่นิไม่เคยเห็นิมาก่อนิในิปร์ะเที่ศนิี้

อย่างแนิ่นิอนิ บางคนิอาจไม่เคยได้ยินิชื่อสถาปนิิกที่ี่ได้ร์้บ

เลีือกมาก่อนิด้วยซ้ำา คุณลี้กษณะที่ี่มากับความ “outbound”

นิี้ยังสร์้างความสนิใจให้กับสาธาร์ณชนิเป็นิอย่างมาก แลีะ

การ์ปร์ะกาศชื ่อสถาปนิิกที่ี่ได้ร์้บคัดเลีือกมักได้ร์้บการ์ตั้้งหนิ้า

ตั้้งตั้าร์อ แลีะความสนิใจดังกลี่าวอาจนิำาไปสู่มูลีค่าที่าง

เศร์ษฐกิจ เพร์าะปัจจุบ้นิ Serpentine Pavilion มีชื่อเสียง

ไปที่้วโลีกแลีะดึงดูดผู้เยี่ยมชมมากกว่า 200,000 คนิตั้่อปี

OUTBOUND

Over a hundred years ago, it must have been a

dazzling sight for Bangkokians to witness the

unfamiliar Western-style architecture in the city

center during these decades. In the twenty-first

century, modern cities can benefit from the

"outbound" energy brought by an outsider to

keep the city dynamic and inspire its residents.

The Serpentine Galleries is an art gallery located

in a park in London. The gallery extends its

boundary once every year when the weather allows

for outdoor activities. At the turn of the millennium

in 2000, the Serpentine Galleries started commissioning

an annual architectural project called

the Serpentine Pavilion. A Serpentine Pavilion is a

temporary structure lasting only four months, from

June to October. It is often semi-outdoor in its design,

providing a shelter for a café, a meeting, and

a place for cultural events such as talks and performances.

Around January, the selected architect to

design the upcoming pavilion is announced each

year. Interestingly, the Serpentine Galleries make

it a rule that the architect they select must never

have previously completed a building in the United

Kingdom. Perhaps this requirement promises that

this ‘outbound’ person will bring fresh ideas—

something the locals have never seen before in

the country. Some may not even have heard of the

name of the architect before. This ‘outbound’ quality

also generates great public interest, and the

announcement of the selected architect is often

anticipated with excitement. This excitement can

translate into economic value. Today, the Serpentine

Pavilion is renowned all over the world and

attracts over 200,000 visitors each year. 1

15

4.1-4.2

Serpentine Pavilion

ปี ค.ศ. 2015 โดย

สถาปนิิกชาวสเปนิ

Selgascano

4.1 4.2


16

theme

5.1-5.2

Serpentine Pavilion

ปี ค.ศ. 2016 โดย

สถาปนิกชาว

เดนมาร์ก Bjarke

Ingels Group (BIG)

5.1

What is certain is that we can all benefit from having

the quality of being able to go ‘outbound’ and from

the open-mindedness to collaborate with those that

come from ‘outbound’.

การ์ “Outbound” นิำามาซึ่งมุมมองใหม่ ๆ ให้กับเมือง แตั้่

แลี้วหากสิ่งที่ี่ถูกส่งออกจากที่ี่หนิึ่งไปยังอีกที่ี่หนิึ่งเป็นิตั้้วคนิ

การ์ “Outbound” ส่งผลีตั้่อตั้้วเขาด้วยหร์ือไม่? หากเร์า

ลีองค้นิหาในิอินิเที่อร์์เนิ็ตั้ ถึงปร์ะโยชนิ์ในิการ์ที่ำางานิในิตั้่าง

ปร์ะเที่ศ หร์ือเปร์ียบได้ว่าเป็นิการ์ “outbound” ตั้้วเอง

เร์าจะพบกับคำาตั้อบมากมายจากผู้คนิที่ี่มาแบ่งปันิปร์ะสบการ์ณ์

เนิื่องจากวัฒนิธร์ร์มที่ี่แตั้กตั้่างก้นิมีค่านิิยมที่ี่แตั้กตั้่างก้นิ

หลีายคนิจึงบอกว่าการ์ “outbound” ตั้้วเองไปยังวัฒนิธร์ร์ม

อืนิ จะที่ำาให้เป็นิคนิเปิดใจร์้บแนิวคิดใหม่มากขึนิ ผู้คนิจาก

วัฒนิธร์ร์มที่ี่แตั้กตั้่างก้นิมีวิธีการ์ที่ำาสิ่งตั้่าง ๆ ที่ี่แตั้กตั้่าง

ก้นิ หลีายคนิเลี็งเห็นิปร์ะโยชนิ์จากการ์ปร์้บเข้าหา เร์ียนิ

ร์ู้ซึ่งก้นิแลีะก้นิ แที่นิที่ี่จะผลี้กด้นิแนิวที่างที่ี่คุ้นิเคยของ

ตั้นิเองเป็นิคำาตั้อบเดียว การ์สังเกตั้แลีะนิำาแนิวที่างที่ี่ผู้คนิ

จากวัฒนิธร์ร์มอืนิใช้ มาใช้ดูบ้าง จะช่วยเพิ่มพูนิที่้กษะให้

เร์าเป็นิคนิที่ี่เห็นิโลีกกว้างขึนิได้ หลีายคนิอาจกลี่าวว่าการ์

“outbound” จะช่วยพัฒนิาความฉลีาดที่างวัฒนิธร์ร์ม

‘Outbound’ energy brings new perspectives to the

city. But does it do anything to the person being

‘outbound-ed’? A search on any search engine

for the benefit of working in a foreign country—of

‘outbound-ing’ yourself—will give you many entries

of people sharing their thoughts. As different cultures

have different values, many say ‘outboud-ing’

oneself to a different culture makes one more

open-minded to new ideas. Many see the benefit of

being adaptable, as people from different cultures

have different ways of doing things. Instead of

pushing for one’s familiar approach as the only

answer, others’ approaches may be helpful, too.

So, observing and adopting an approach practiced

by those from other cultures can broaden your

skills. Many would mention that ‘outbound-ing’

would develop your cultural intelligence (CQ),

which is the ability to understand and adapt oneself


(CQ) ซึ่งก็คือความสามาร์ถในิการ์เข้าใจแลีะปร์้บตั้้วให้

ที่ำางานิกับผู้คนิจากวัฒนิธร์ร์มที่ี่แตั้กตั้่างก้นิ CQ ถือเป็นิ

ที่้กษะที่ี่มีคุณค่าอย่างยิ่งในิโลีกยุคโลีกาภิว้ตั้นิ์ ที่ี่การ์

สื่อสาร์ไม่ได้ถูกจำากัดด้วยพร์มแดนิของปร์ะเที่ศอีกตั้่อ

ไป หากย้อนิไปในิปี ค.ศ. 2012 เมื่อเศร์ษฐกิจของหลีาย

ปร์ะเที่ศในิยุโร์ปอยู่ในิภาวะถดถอย เว็บไซตั้์ข่าวสาร์

สถาปัตั้ยกร์ร์มชื่อดัง ArchDaily ได้ตั้ีพิมพ์บที่ความที่ี่มีชื่อ

ว่า “9 ปร์ะเที่ศที่ี่ดีที่ี่สุดสำาหร์้บสถาปนิิกในิการ์หางานิ”

โดยบที่ความกลี่าวถึงบร์ิบที่ว่า “ภาวะเศร์ษฐกิจถดถอยที่ี่

เลีวร์้ายแลีะบัณฑิตั้สถาปัตั้ยกร์ร์มที่ี่เพิ่งสำาเร์็จการ์ศึกษา

กำาลี้งปร์ะสบปัญหาหนิ้กที่ี่สุด” คำาตั้อบ 9 ปร์ะเที่ศที่ี่ได้ มา

จากความคิดเห็นิของผู้อ่านิกว่า 200 ร์าย ซึ่งได้แก่ บร์าซิลี

ปานิามา ซาอุดีอาร์ะเบีย แลีะเวียดนิาม ในิขณะที่ี่บัณฑิตั้

ที่ี่เพิ่งสำาเร์็จการ์ศึกษาในิยุโร์ปพบว่าหางานิที่ำาได้ยากมาก

ความคิดเห็นิจำานิวนิมากชี้ให้เห็นิว่า ยังมีที่ี่อืนิในิโลีกที่ี่ธุร์กิจ

การ์ก่อสร์้างเฟื่องฟู ที่ำาให้มีโอกาสที่ำางานิในิโคร์งการ์ที่ี่

หลีากหลีาย ความคิดเห็นิบางส่วนิเนิ้นิย้ำาว่าที่้กษะภาษาถิ่นิ

จะมีปร์ะโยชนิ์อย่างมากในิหลีายปร์ะเที่ศที่ีนิ่าไปที่ำางานิ

บที่ความนิี้ เป็นิเคร์ื่องเตั้ือนิเร์าว่าเศร์ษฐกิจโลีกเชื่อมโยง

ก้นิมากกว่าที่ี่เคยเป็นิในิอดีตั้ แลีะยิ่งเป็นิคนิที่ี่พร์้อมที่ี่จะ

ปร์้บตั้้วแลีะมีใจกว้างในิการ์เร์ียนิร์ู้แลีะสื่อสาร์กับวัฒนิธร์ร์ม

ตั้่าง ๆ ก็จะยิ่งได้เปร์ียบ การ์ออกไป “outbound” ตั้้องมี

คุณสมบ้ตั้ิเหลี่านิี้ แลีะการ์ออกไป “outbound” ก็อาจหลี่อ

หลีอมคุณสมบ้ตั้ิเหลี่านิี้ในิตั้้วบุคคลีได้

OUTBOUND

6.1

6.2

17

6.1-6.2

Serpentine Pavilion

ปี ค.ศ. 2017 โดย

สถาปนิิกชาวบูร์์กินิา-

ฟาโซ Francis Kéré

to work with people from different cultures. It is

a skill highly valued in today’s globalized world,

where communication is no longer confined by

national borders. In 2012, when several European

countries’ economies were in recession, ArchDaily

published a content titled The 9 Best Countries For

Architects To Find Work. It mentions the ‘crippling

recession and recent architecture graduates

suffering most’ as the instigator of the post. The

9 best countries stem from almost 200 readers’

comments and include Brazil, Panama, Saudi

Arabia, and Vietnam. As recent architecture graduates

in Europe found it difficult to find jobs, many

comments highlight that there was a construction

boom elsewhere that allowed for opportunities to

work on projects at various scales. Some comments

highlight that local language skills would go a long

way in many countries. This article reminds us that

the world economy is more connected than ever.

And the more adaptable and open-minded to

learning from and communicating effectively with

different cultures, the better. Going ‘outbound’

calls for these qualities, and going ‘outbound’

5.2could shape these qualities in a person.

Photo Reference

5.1-6.2 Photo Credits: Photo Courtesy of Writer


18

theme

ที่้งหมดที่ี่กลี่าวมา จะเห็นิได้ว่ามีหลีายมิตั้ิที่ี่เกี่ยวข้องกับ

ธีม “outbound” ในิฐานิะผู้นิำาเข้า หร์ือปร์ะเที่ศเจ้าบ้านิ การ์

ได้ร์้บพลี้งงานิที่ี่มาจากการ์ “outbound” คือความตั้ืนิเตั้้นิ

กับสิ่งที่ี่ไม่เคยเห็นิมาก่อนิ ความแปลีกใหม่ ชีวิตั้ชีวา ไม่

จำาเจที่ี่จะเกิดขึนิในิเมือง ในิฐานิะผู้ส่งออกหร์ือฝ่ายตั้้นิที่าง

“outbound” มาพร์้อมกับเกียร์ตั้ิในิการ์เป็นิตั้้วแที่นิปร์ะเที่ศ

ในิตั้่างแดนิ หร์ือความร์ู้สึกภาคภูมิใจที่ี่ได้เห็นิวัฒนิธร์ร์ม

ของตั้นิได้ร์้บการ์กลี่าวถึงอย่างชืนิชมในิตั้่างแดนิ ในิฐานิะ

ปัจเจกบุคคลี การ์ยอมร์้บมุมมองที่ี่มาจาก “outbound”

ที่ำาให้มองเห็นิสิ่งเดิมในิมุมมองใหม่ ในิปัจจุบ้นินิี้ ปร์ะเที่ศ

ในิโลีกโลีกาภิว้ตั้นิ์เชื่อมโยงถึงก้นิ แลีะพึ่งพาซึ่งก้นิแลีะ

ก้นิ บางคร์้งเร์าอยู่ข้างผู้ส่ง แลีะบางคร์้งเร์าก็อยู่ข้างผู้ร์้บ

ไม่มีความตั้ายตั้้ว แตั้่สิ่งที่ี่แนิ่นิอนิคือ เร์าทีุ่กคนิสามาร์ถได้

ปร์ะโยชนิ์จากการ์เป็นิบุคคลีที่ี่มีคุณลี้กษณะพร์้อมกับการ์

“outbound” แลีะการ์มีใจที่ี่เปิดกว้างในิการ์จะร์่วมมือกับ

ผู้ที่ี่มาจาก “outbound”

So, there are many layers related to the theme

‘outbound.’ Being an importer, one benefits from the

‘outbound’ energy: the excitement for something

unprecedented, the dynamic it brings to the city. Being

an exporter, going ‘outbound’ comes with the honor

of representing one’s country abroad or fills you with

a sense of national pride for seeing one’s identity

represented abroad. Being an individual, embracing

an ‘outbound’ perspective can make one see things

in a new light. Today, countries interconnect and rely

on each other. Sometimes, we stand on the side of the

sender and sometimes the recipient. What is certain is

that we can all benefit from having the quality of being

able to go ‘outbound’ and from the open-mindedness

to collaborate with those that come from ‘outbound’.

6.3

Serpentine Pavilion

ปี ค.ศ. 2017 โดย

สถาปนิิกชาวบูร์์กินิา-

ฟาโซ Francis Kéré

6.3

Photo Reference

6.3-7 Photo Credits: Photo Courtesy of Writer


OUTBOUND

In the twenty-first century, modern cities can benefit from the

“outbound” energy brought by an outsider to keep the city

dynamic and inspire its residents.

19

เมื่อพูดถึงโลีกโลีกาภิว้ตั้นิ์ ไม่นิานิมานิี้ พิพิธภัณฑสถานิ

แห่งชาตั้ิของสหร์าชอาณาจักร์ หร์ือ British Museum ได้

ปร์ะกาศผู้ชนิะการ์ปร์ะกวดเพื่อปร์้บปร์ุงอาคาร์ฝั่งตั้ะว้นิตั้ก

ซึ่งคร์อบคลีุมพืนิที่ี่ขนิาดใหญ่ แลีะเป็นิการ์ปร์้บปร์ุงคร์้ง

สำาคัญของพิพิธภัณฑ์ในิร์อบเกือบสองร์้อยปี เร์าอาจกลี่าว

ได้ว่า ว้ตั้ถุตั้่าง ๆ ที่ี่อยู่ในิคลี้งสะสมของพิพิธภัณฑ์ ก็ลี้วนิ

เป็นิผลีิตั้ผลีจากการ์ “outbound” มาจากปร์ะเที่ศตั้่าง ๆ

เช่นิ อียิปตั้์ กร์ีซ ปร์ะเที่ศในิภูมิภาคตั้ะว้นิออกกลีาง แลีะ

อีกหลีากหลีายปร์ะเที่ศที่้งนิ้นิ การ์ปร์้บปร์ุงสถาปัตั้ยกร์ร์ม

ของพิพิธภัณฑ์คร์้งใหญ่นิี้ ก็คงจะเป็นิผลีิตั้ผลีที่ี่ได้จากมุมมอง

สดใหม่จากการ์ “outbound” เช่นิก้นิ เนิื่องจากบร์ิษ้ที่

Lina Ghotmeh — Architecture ซึ่งนิำาโดย Lina Ghotmeh

สถาปนิิกชาวเลีบานิอนิที่ี่พำานิ้กอยู่ในิปาร์ีส ได้ร์้บเลีือก

แลีะตั้้งแตั้่ปี ค.ศ. 2025 นิี้ สถาปนิิกแลีะพิพิธภัณฑ์จะร์่วม

มือก้นิออกแบบการ์ปร์้บปร์ุงไปอย่างควบคู่ก้นิ นิี่จะเป็นิ

ช่วงเวลีาที่ีนิ่าตั้ืนิเตั้้นิที่ี่จะได้เห็นิโคร์งการ์สถาปัตั้ยกร์ร์ม

ที่ี่สำาคัญของโลีกเกิดขึนิจากความร์่วมมือร์ะหว่างเจ้าภาพ

ที่ี่มีชื่อเสียง แลีะแนิวคิดที่ี่มาจาก “outbound” ที่ี่เตั้็ม

เปี่ยมไปด้วยปร์ะสบการ์ณ์แลีะความสดใหม่ นิ่าจับตั้า

มองเป็นิอย่างยิ่งว่า “outbound” จะสร์้างอะไร์ให้โลีก

สถาปัตั้ยกร์ร์มตั้่อไป

Talking about the globalized world, the British

Museum recently announced the competition’s

winner to renovate its vast Western Range Galleries—a

significant renovation in almost two hundred

years. The objects in the museum’s collection are

all the products of being ‘outbound’, as they come

from Egypt, Greece, the Middle East, and beyond.

And the renovation, too, will benefit from the

‘outbound’ voice. Lina Ghotmeh—Architecture, led

by Lina Ghotmeh, a Lebanese-born architect based

in Paris, was chosen. From 2025, the architect and

the museum will collaborate closely. It will be an

exciting time to see the world’s major architectural

project unfold from the collaboration between

the distinguished host and the experienced and

refreshing ‘outbound’ ideas. Let us anticipate what

‘outbound’ will bring to the world of architecture

next.

7

7

โถงกลีางของ British

Museum มองไป

ยัง Western Range

Galleries ที่ี่จะได้ร์้บ

การ์ปร์้บปร์ุง


20

theme / review

PHU YEN SOLAR

POWER PLANT

PHÚ YÊN, VIETNAM

OPENBOX GROUP

2023

1

สภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจัยและเงื่อนไข

หนึ่งในการออกแบบอาคารโครงการก่อสร้างต่าง ๆ ในปัจจุบันมากขึ้น โดย

เฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งมีการขยายตัว

ของระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อตอบสนองการอุปโภคบริโภคที่มากขึ้น

ด้วยเช่นกัน จึงเป็นโอกาสให้สำานักงานออกแบบสถาปัตยกรรมได้เข้าไปมี

ส่วนร่วมทั้งการวางผังออกแบบอาคาร และออกแบบกิจกรรม ที่ส่งเสริม

การเรียนรู้ต่าง ๆ ในระบบโครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้

The increasing volatility of climate conditions has emerged

as a defining criterion in contemporary architectural and

urban development, particularly in Southeast Asia, where

rapid infrastructural expansion is driven by escalating consumption

demands. This shift presents new opportunities for

architectural practices to engage with large-scale planning,

building design, and the integration of educational programs

within these evolving infrastructural frameworks.

Text: Bhumibhat Promboot

Photo Courtesy Openbox Group


2

1

ภาพทัศนียภาพโครงการ

ที่แสดงจุดไฮไลท์ของ

โครงการที่เป็นอาคาร

ต้อนรับรูปทรงวงรีสำาหรับ

การชมวิวแบบ 360 องศา

2

ภาพทัศนียภาพในส่วน

ของอาคารต้อนรับ ที่ได้มี

การล้อมพื้นที่เป็นคอร์ทไว้

ภายใน ด้วยระแนงหลากสี

และสามารถเดินวนรอบ

เพื่อชมวิวได้


22

theme / review

3

ภาพมุมสูงแสดงอาณาเขต

ของพื้นที่โครงการ โดย

ประกอบด้วยกลุ่มอาคาร

สำานักงาน โรงไฟฟ้า อาคาร

ต้อนรับ และพื้นที่ Solar Farm

4

ภาพอาคารสำานักงานที่ทาง

Openbox Group เป็น

ผู้ออกแบบตัว Facade

และงานตกแต่งภายใน

ที่รายล้อมไปด้วย Solar Farm

โครงการ Phu Yen Solar Power Plant ตั้งอยู่ ณ จังหวัด

ฟู้เอียน ประเทศเวียดนาม และมี B.GRIMM POWER

บริษัทด้านพลังงานที่ดำ าเนินธุรกิจผลิตไฟฟ้าความร้อนร่วม

และพลังงานหมุนเวียนเป็นเจ้าของโครงการ โดยทาง

โครงการมีหน้าที่ในการผลิตไฟฟ้าเป็นหลัก และต้องการเพิ่ม

เติมพื้นที่สำาหรับรองรับการเยี่ยมชมโครงการ หรือกิจกรรม

อื่น ๆ นอกเหนือจากกิจกรรมหลักอย่างการผลิตไฟฟ้า

เช่น การทัศนศึกษาเยี่ยมชมพื้นที่ปฏิบัติการการผลิตไฟฟ้า

พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อเปิดต้อนรับผู้ที่สนใจเข้ามาเยี่ยมชม

และแลกเปลี่ยนความรู้ด้านพลังงานซึ่งกันและกันได้ โดย

สำานักงานออกแบบที่ได้รับผิดชอบการออกแบบอาคารส่วน

ต้อนรับ (Viewing Pavilion) และยังรับผิดชอบการออกแบบ

Façade และงานตกแต่งภายในของส่วนสำานักงานของ

โครงการ Phu Yen Solar Power Plant คือ Openbox Group

สำานักงานออกแบบสัญชาติไทย ที่มีประสบการณ์กว่า 25 ปี

กับผลงานออกแบบทั้งในและต่างประเทศ

พื้นที่ของโครงการ Phu Yen Solar Power Plant ตั้งอยู่ใน

พื้นที่ราบเปิดโล่งขนาดใหญ่ ซึ่งเกือบ 90% เป็นพื้นที่ Solar

Farm และอีก 10% เป็นส่วนอาคารสำานักงาน และอาคาร

ต้อนรับ ที่ตั้งอยู่ในตำาแหน่งที่เป็นเนินที่สูงที่สุดของพื้นที่ ซึ่ง

สามารถมองเห็นทัศนียภาพของโครงการได้แบบ 360 องศา

โดยอาคารต้อนรับ (Viewing Pavilion) นั้น ทาง Openbox

Group ได้ออกแบบอาคารเป็นรูปทรงวงรี และสร้างความน่า

สนใจและน่าดึงดูดผ่านการเลือกใช้สีสันของระแนงรั้วและ

โครงระแนงหลังคา ที่วางโอบล้อมจนเกิดเป็นพื้นที่ว่างภายใน

โดยผู้เยี่ยมชมสามารถที่จะเดินรอบอาคารที่เปิดโล่งแห่งนี้

และสามารถมองเห็น Solar Farm ที่รายล้อมอยู่รอบอาคาร

ได้ ทั้งยังได้มีการติดตั้ง Solar Panel ที่บริเวณหลังคา ที่วาง

ทิศทางการติดตั้งสัมพันธ์ไปกับบริบทโดยรอบด้วยเช่นกัน

3

Situated in Phu Yen Province, Vietnam, the Phu

Yen Solar Power Plant is a key renewable energy

initiative under the ownership of B.GRIMM POWER,

a company with extensive expertise in combined

heat and power generation, as well as renewable

energy. While the plant’s primary function remains

electricity production, the project also seeks to

incorporate spaces for visitor engagement and

supplementary activities beyond its core operations.

This includes curated educational tours that

provide access to the solar power plant’s operational

areas, fostering an exchange of knowledge

in the field of energy production and sustainability.

The architectural firm commissioned to design

the Viewing Pavilion, which serves as the main

reception space for visitors, as well as the façade

and interior design of the project's office spaces,

is Openbox Group. This Thai-based design firm

boasts over 25 years of experience, with a portfolio

that spans both domestic and international

projects.

The Phu Yen Solar Power Plant is located on an

expansive, open plain, with nearly 90% of the site

dedicated to the solar farm, while the remaining

10% accommodates the office buildings and the

Viewing Pavilion. These structures are positioned

at the highest elevation within the site, offering a

360-degree panoramic view of the surrounding

landscape. For the Viewing Pavilion, Openbox

Group has conceived an elliptical form, enhancing

its visual appeal through defining gestures such

as louvered screen and overhead lattice structure.

These architectural elements encircle the pavilion

to create a semi-enclosed spatial experience. This

open-air design allows visitors to circulate freely

around the pavilion, immersing themselves in the

uninterrupted vistas of the surrounding solar farm.

Additionally, solar panels have been strategically

integrated into the roof, their orientation thoughtfully

aligned with the environmental context.

4


PHU YEN SOLAR POWER PLANT

23

อีกส่วนหนึ่งที่ Openbox Group ได้ออกแบบคือ ส่วน Façade

อาคารสำานักงานที่ได้เพิ่มเติมระแนงตกแต่งบริเวณหน้าอาคาร

ซึ่งสีของระแนงก็อ้างอิงมาจากสีส้ม สีประจำาของบริษัท

B.GRIMM POWER ที่ได้นำามาใช้เป็นสีตกแต่งหลักของ

อาคารส่วนสำานักงานทั้งภายนอกและภายใน เพื่อสร้าง

เอกลักษณ์ให้กับพื้นที่อาคารที่จะเปิดเป็นส่วนต้อนรับแขก

ในอนาคต

เนื่องจากการใช้สอยของโครงการหลักคืออาคารประเภท

โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ฉะนั้น บทบาทของ

สถาปนิกจึงมีหน้าที่วิเคราะห์ เชื่อมโยง และนำาเสนอองค์

ความรู้ด้านพลังงานต่าง ๆ ให้กลับคืนสู่คน หรือชุมชนที่

สนใจผ่านการสร้างพื้นที่เชื่อมต่อระหว่างผู้ผลิตและผู้ที่สนใจ

ศึกษา ให้เกิดการพบปะพูดคุยไม่ใช่แค่ในประเทศ แต่เป็น

ในระดับภูมิภาคหรือในระดับนานาชาติ เฉกเช่นเดียวกับ

โครงการนี้ที่เป็นความร่วมมือกันระหว่างประเทศทั้งเจ้าของ

โครงการ และสถาปนิกผู้ออกแบบจากประเทศไทย พื้นที่

โครงการในประเทศเวียดนาม และผู้รับเหมาจากประเทศจีน

In addition to the pavilion, Openbox Group also

designed the façade of the office building, incorporating

decorative louvers that lend a distinctive

architectural language to the structure. The

color palette of the louvers draws directly from

B.GRIMM POWER’s signature orange hue,

establishing a cohesive visual identity that extends

across both the exterior and interior of the office

space. The color underscores the building’s role as

a representative and welcoming space intended for

accommodating visitors.

As the Phu Yen Solar Power Plant is fundamentally

an infrastructure project, the role of the architect

extends beyond conventional design considerations

to encompass analysis, interpretation, and

the translation of energy-related knowledge into

tangible, accessible experiences for interested

individuals and community members. The objective

is to establish a spatial interface between the

producer and those eager to acquire deeper insight

into the subject, fostering dialogue and exchange

not only at a local level but also regionally and

internationally. This project exemplifies such

transnational collaboration, involving the owner,

an architectural team from Thailand, a project site

in Vietnam, and contractors from China.

5

ภาพทัศนียภาพ แสดง

รูปแบบ Façade อาคาร

สำานักงานที่มีการใช้เฉด

สีและการใช้กราฟิกตัว

หนังสือที่สื่อถึงเอกลักษณ์

ขององค์กร

5


24

theme / review

6

6

ภาพมุมสูงของอาคาร

ต้อนรับในปัจจุบัน ที่ได้มี

การติดตั้งแผง Solar cell

ไว้ด้านบนเพื่อสร้างแสง

และเงาให้กับตัวอาคาร

นอกเหนือจากการผลิต

ไฟฟ้า

7

ภาพภูมิทัศน์โดยรอบ

ของโครงการ ที่ตั้งอยู่ใน

พื้นที่โล่งกว้างและมีภูเขา

ล้อมรอบ

โดยโครงการ Phu Yen Solar Power Plant นี้ ได้ริเริ่มขึ้น

ในช่วงระหว่างการระบาดของโควิด 19 พอดิบพอดี ดังนั้น

เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารการออกแบบ หรือติดตามความ

คืบหน้าของโครงการเป็นหลักคือ วิดีโอคอล จึงส่งผลให้

รูปแบบของอาคารนั้นต้องมีความเรียบง่าย ใช้วัสดุที่หา

ได้ไม่ยาก สามารถติดตั้งได้ง่าย ไม่ซับซ้อน แต่สามารถ

สื่อสารภาษาหรือวัตถุประสงค์ของโครงการได้อย่างชัดเจน

และการสื่อสารหรือการประชุมเรื่องแบบต่าง ๆ นั้นก็ต้อง

ใช้ภาษาที่กระชับและกราฟิกที่ต้องชัดเจนไปพร้อมกัน ซึ่ง

ในแง่หนึ่งก็เป็นการเปิดโอกาสและทดลองสิ่งใหม่ ๆ ทั้งต้อง

ออกแบบรูปแบบการสื่อสารตัวแบบอาคารผ่านกำาแพงภาษา

ที่ต่างกัน หรือการต้องเรียนรู้มาตรฐานการควบคุมอาคารใน

ประเทศเวียดนาม เพื่อเป็นการสร้างบรรทัดฐานใหม่ขึ้นมา

ในการทำางานต่างประเทศ จึงเป็นโจทย์หนึ่งที่มากกว่าการ

ออกแบบตัวอาคาร ทำาให้ทาง Openbox Group ต้องปรับตัว

และยกระดับวิชาชีพและการบริการใหม่ ๆ ขึ้นมา ให้สามารถ

นำาไปสู่เนื้อหาใหม่ ๆ ทางการออกแบบงานสถาปัตยกรรม

ได้อยู่เสมอ

The Phu Yen Solar Power Plant was initiated at

the height of the COVID-19 pandemic, a circumstance

that significantly influenced the design

and project coordination process, during which

video calls became the primary mode of communication.

This situation also necessitated an

architectural approach that was straightforward,

adaptable, and reliant on readily available materials

that could be easily sourced and assembled. At

the same time, the design had to articulate the

project's vision with clarity despite these constraints.

The exchange of ideas and design discussions

required concise language and precise

visual communication, ensuring that all stakeholders

could effectively collaborate across linguistic

and regulatory differences. Beyond architecture

itself, the project became a platform for testing

new methodologies in international practice. The

team had to navigate linguistic barriers, familiarize

themselves with Vietnam’s building codes, and

refine cross-border project management strategies—challenges

that extended beyond design

alone. These constraints compelled Openbox

Group to adapt, innovate, and elevate its professional

capabilities, ultimately enriching and

broadening the firm’s architectural discourse and

global practice.


PHU YEN SOLAR POWER PLANT

25

7


26

theme / review

8

ภาพแสดงโถงต้อนรับใน

ส่วนของสำานักงานที่ทาง

Openbox Group ได้ทำาการ

ออกแบบตกแต่งภายใน

9

ภาพโถงต้อนรับที่แสดง

การตกแต่งภายใน เพื่อให้

เกิดการนำาสายตาและได้มี

การนำาเอกลักษณ์เรื่องสีและ

โลโก้ขององค์กรเข้ามาใช้

10

ภาพทัศนียภาพแสดงทาง

เดินภายนอกที่เข้าสู่อาคาร

ต้อนรับ โดยมีการสายตาไป

สู่ ประติมากรรมที่ถอดรูป

แบบมาจากโลโก้ขององค์กร

ที่ตั้งอยู่ภายในคอร์ทตรง

กลาง

จากการที่ผู้ออกแบบโครงการอย่าง Openbox Group ได้

เข้าไปมีส่วนร่วมในการผสานชุมชนและโลกภายนอกเข้า

กับระบบงานอาคาร ที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานทางวิศวกรรม

ขนาดใหญ่ที่มักปิดตัว และถูกสงวนพื้นที่ภายในเอาไว้ เกิด

เป็นประเภทอาคารใหม่ ๆ (building type) ผ่านบริบทที่ต่าง

จากเดิมออกไป พร้อมกับพื้นที่สื่อใหม่ ๆ จึงส่งผลให้กำ าแพง

ทางอาณาเขต หรือข้อจำากัดทางกายภาพต่าง ๆ ในการ

ทำาโครงการร่วมมือกันระหว่างประเทศ ทั้งทางด้านภาษา

ทักษะช่าง ทัศนคติต่าง ๆ นั้นจะค่อย ๆ ลดน้อยลงไป คง

เหลือไว้แต่การตอบสนองปัจจัยทางเศรษฐกิจและทางการ

ตลาด ผ่านสื่อหลักอย่างสถาปัตยกรรม ที่ไม่ได้เพียงนำ าเสนอ

แค่ทัศนียภาพของโครงการเท่านั้น แต่ยังเป็นการเล่าเรื่อง

ผ่านงานออกแบบ โดยใช้ทั้งสื่อที่หลากหลายมาถ่ายทอด

ทั้งเป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว และเปิดพื้นที่ใหม่ ๆ ของ

ประเภทงานสถาปัตยกรรม ที่ไม่ได้จำากัดเพียงงานออกแบบ

ที่พักอาศัย อาคารพาณิชย์ หรือประเภทงานอาคารสาธารณะ

อื่น ๆ ที่คุ้นเคยกันเท่านั้น

“การได้รับโอกาสได้ทำางานในต่างประเทศ ที่นอกเหนือจาก

ประสบการณ์ใหม่ ๆ แล้ว ข้อสังเกตอย่างหนึ่งคือ คุณภาพของ

สถาปนิกไทยได้ถูกยอมรับว่ามีแนวความคิด และมีรสนิยม

ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่ดี ก็น่าจะเป็นสิ่งที่ช่วย

ยืนยัน และสามารถช่วยกันผลักดันให้เกิดการร่วมกลุ่ม เกิด

การยกระดับวิชาชีพสถาปนิกในประเทศไทยให้ไปสู่สากล

ให้มากขึ้นได้” คุณหนุ่ย รติวัฒน์ สุวรรณไตรย์ CEO และ

Co-Founder ของ Openbox Group กล่าวทิ้งท้าย

8 9

Beyond architecture itself, the project became a platform

for testing new methodologies in international

practice.

Through its involvement in the Phu Yen Solar

Power Plant, Openbox Group has played a key role

in bridging the gap between local communities

and the project's large-scale infrastructural

systems—a section of engineering infrastructure

that is typically closed off and inaccessible to the

public. This engagement has led to the emergence

of new building typologies, shaped by unconventional

contexts and the introduction of new communication

channels. As a result, the traditional

territorial and physical barriers often associated

with cross-border collaborations—whether linguistic,

technical, or cultural—are gradually being

dismantled. In their place, economic and marketdriven

factors increasingly shape the architectural

discourse, where architecture itself becomes

more than just a means of visual representation;

it serves as a narrative medium. Through a diverse

array of visual storytelling techniques, including

both still and moving images, the project expands

the definition of architecture beyond conventional

typologies such as residential, commercial, or

public buildings.

“Beyond gaining new experiences, working internationally

has reinforced an important observation:

Thai architects are increasingly recognized

for their design sensibilities and conceptual depth.

This recognition should encourage collective

advancement within the profession, ultimately

positioning Thai architecture more prominently on

the global stage.”— Ratiwat Suwannatrai, CEO

& Co-Founder of Openbox Group.

Project Name: Phu Yen Solar Power Plant Location: Phú Yên, Vietnam Complete Year: 2023 Area: 6,000 Sq.m.


PHU YEN SOLAR POWER PLANT

27

10


28

theme / review

SIMPLE

ART

MUSEUM

HEFEI,

CHINA

HAS

DESIGN AND

RESEARCH

2024

เหอเฟย เป็นเมืองหลวงของมณฑลอานฮุย ตั้งอยู่ทางประเทศจีน

ตอนกลาง ในทางประวัติศาสตร์เหอเฟยนับเป็นอีกหนึ่งเมืองโบราณที่มี

ประวัติก่อตั้งมายาวนานกว่า 2,000 ปี โดยในปัจจุบัน นอกจากเหอเฟย

เป็นเมืองท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์แล้ว ก็เป็นอีกเมืองใหญ่ทางด้าน

อุตสาหกรรมในพื้นที่จีนตอนกลาง มีมหาวิทยาลัยชั้นนำ า และเป็นศูนย์

รวบรวมและกระจายสินค้าไปสู่เมืองอื่น ๆ โดยรอบ จึงจะพบว่าเหอเฟยมี

ย่านเมืองพัฒนาใหม่แยกตัวออกจากย่านเมืองประวัติศาสตร์ที่กลายเป็น

ที่นิยมสำาหรับการท่องเที่ยว โดยเป็นส่วนที่กล่าวได้ว่า เริ่มต้นจากพื้นที่

ว่างเปล่า และถูกเติมเต็มด้วยตึกระฟ้าและอาคารสมัยใหม่มากมายใน

ปัจจุบัน

Hefei, the capital city of Anhui province in China, is centrally

located and historically significant, with roots stretching back

over two millennia. Beyond its storied past, modern-day Hefei

has become a dynamic industrial hub in the region, home to

leading universities and serving as a pivotal distribution hub

for neighboring cities. This contemporary growth has led to the

emergence of newly developed urban districts distinctly separated

from the historic quarter, which remains popular among

tourists. Once vacant land, these modern neighborhoods now

teem with skyscrapers and sleek new buildings.

1

Text: Korrakot Lordkam

Photo Courtesy of HAS design and research


2

1

ผนังสีขาวซ่อนกระจกบาง ๆ

เว้นจังหวะแตกต่างกัน

จำาลองจากความ

เคลื่อนไหวของแม่น้ำา

หนานเฟย

2

ฝ้าลดหลั่นเป็นชั้นเป็น

แนวคิดสะท้อนลักษณะ

ของสถาปัตยกรรมจีน

โบราณแบบฮุย เป็น

แนวคิดการเล่าเรื่องราว

ทางวัฒนธรรมของเมือง

ผ่านสถาปัตยกรรมร่วมสมัย


30

theme / review

The museum’s angular ceiling geometry

draws inspiration from the

stepped forms of traditional Hui-style

architecture.

3-4

ห้องจัดแสดงเน้นความ

ลื่นไหลของสเปซ และเน้น

ผนังแบบโค้งสร้างความ

น่าสนใจให้การจัดแสดง

งาน

หนึ่งในนั้น คืออาคารศูนย์การค้ารวมแบรนด์เฟอร์นิเจอร์

นำาเข้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำาหนานเฟย อันเป็นที่ตั้ง

ของโครงการพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย Simple Art Museum

ออกแบบโดย HAS Design and Research ซึ่งเป็นความ

พยายามเสริมพื้นที่เชิงศิลปะวัฒนธรรมเข้าไปในพื้นที่การ

ค้า เพื่อเป็นแม่เหล็กดึงดูดคนให้กับห้าง และเพื่อเติมเต็ม

พื้นที่จัดแสดงศิลปะในเมืองที่หาได้ยากในเวลาเดียวกัน

นอกจากนั้น ก็เพื่อทำาให้พื้นที่ห้างสรรพสินค้า เป็นที่พบปะ

หรือพักผ่อนหย่อนใจของคนทั่วไปได้ โดยไม่จำาเป็นต้อง

เป็นสถานที่ที่คนมุ่งหน้ามาเพื่อซื้อของเพียงอย่างเดียว

คุณเจอร์รี่ หง (Jenchieh Hung) สถาปนิกหนึ่งในผู้ก่อตั้ง

HAS Design and Research ร่วมกับคุณกุลธิดา ทรงกิตติ

ภักดี กล่าวว่า เพราะที่ตั้งอยู่ในย่านเมืองพัฒนาใหม่ ที่ไม่

ได้มีเอกลักษณ์ด้านบริบทหรือมรดกทางวัฒนธรรมใด ๆ

ในบริเวณรอบ ๆ แตกต่างจากในเขตเมืองเก่า พวกเขาจึง

ตั้งใจจะให้พิพิธภัณฑ์แห่งใหม่นี้อย่างน้อยได้เป็นเครื่องมือ

สื่อสารถึงสมบัติของเมืองเหอเฟยทั้งทางวัฒนธรรมและ

สิ่งแวดล้อม โดยสะท้อนออกมาในภาษาทางสถาปัตยกรรม

ที่ดูร่วมสมัยแต่ก็ให้ความรู้สึกคุ้นเคย

3

Prominent among these developments is a large

commercial center specializing in imported furniture

brands, situated near the Nanfei River. It is here that

HAS Design and Research have established their

latest cultural intervention: the Simple Art Museum,

a contemporary art museum thoughtfully integrated

within this commercial context. Conceived to

enhance cultural life amidst commercial surroundings,

the museum aims not only to attract visitors to

the shopping center but also addresses the city's

shortage of dedicated art spaces. Moreover, it seeks

to reframe the commercial environment itself, transforming

it from a transactional space into a social

hub where the community can gather, relax, and find

inspiration, rather than simply shop.

Jenchieh Hung, architect and co-founder of HAS

Design and Research, alongside his partner Kulthida

Songkittipakdee, elaborates on the project's vision:

Given its location within a newly developed urban

zone devoid of distinctive historical context or

cultural heritage—unlike Hefei's traditional city center—the

museum is intentionally designed to articulate

and reflect Hefei’s cultural and environmental

richness. The architecture itself speaks a contemporary

language yet resonates with a comforting sense

of familiarity.

4


SIMPLE ART MUSEUM

31

5

การสื่อสารดังกล่าว ปรากฏอยู่ในองค์ประกอบต่าง ๆ ที่

เรียงร้อยกันขึ้นเป็นอาคารสีขาวที่เห็นเด่นชัดจากภายนอก

ในภาพรวม Simple Art Museum ถูกวางตำาแหน่งให้อยู่ชิด

บริเวณขอบนอกของห้างสรรพสินค้า ในที่ตั้งใกล้กับที่จอดรถ

จึงถูกกำาหนดให้ทำาหน้าที่เป็นทางเข้าด้วยอีกทางหนึ่ง

แนวคิดแรกสุดจึงเป็นการยื่นพื้นที่ใช้สอยของพิพิธภัณฑ์นี้

ให้เลยออกมานอกขอบเขตอาคารเสมือนเป็นชายคาขนาด

ใหญ่ สร้างการรับรู้ให้หากมองจากภายนอกจะราวกับ

ว่าอาคารพิพิธภัณฑ์ได้สอดแทรกตัวเองเข้าไปภายใต้

อาคารศูนย์การค้า Façade ของพิพิธภัณฑ์จึงกลายเป็น

องค์ประกอบสำาคัญที่จะใช้สื่อสารตนเองออกสู่ภายนอกให้

แตกต่างจากห้างสรรพสินค้า ในจุดนี้เองที่ผู้ออกแบบได้

ค้นหาวิธีการสื่อสารที่จะช่วยสร้างทั้งจุดเด่นและสะท้อน

เรื่องราวของสถานที่ให้แก่อาคารที่ตั้งอยู่ในเขตเมืองพัฒนา

ใหม่ที่ขาดเรื่องราวทางบริบท

This architectural dialogue manifests itself through

thoughtfully arranged design elements, resulting in a

distinctive white structure clearly discernible from its

surroundings. Strategically positioned at the outer

edge of the shopping mall near the parking area, the

Simple Art Museum also serves as an alternative

entrance. Initially, the design concept envisioned

extending the museum’s spatial presence outward,

beyond the mall's boundary, creating an expansive

canopy-like structure that visually suggests the

museum gently sliding beneath the larger commercial

building.

Given this context, the museum’s facade became a

critical tool for distinguishing the cultural space from

its retail neighbor. Facing the challenge of creating

an identity in a newly developed urban district

lacking a defined historical or cultural narrative, the

architects sought expressive methods that would

simultaneously highlight the building and anchor it

within the broader story of its location.

5

คาเฟ่เป็นหนึ่งในพื้นที่ใช้งาน

ถาวรในพิพิธภัณฑ์ ต้อนรับ

คนทั่วไปที่มาพบปะหย่อนใจ

และตั้งใจให้คนใช้เวลาใน

พื้นที่ได้นานขึ้น


32

theme / review

ผลลัพธ์การออกแบบจึงออกมาเป็นกล่องอาคารสีขาวที่มี

รูปลักษณ์โดดเด่นเป็นเหลี่ยมมุม พร้อม Façade ด้านหน้า

เป็นผนังสีขาวซ่อนบานกระจกบาง ๆ เว้นจังหวะไม่เท่ากัน ที่

ผู้ออกแบบกล่าวว่า จำาลองมาจากภาพความเคลื่อนไหวของ

ทัศนียภาพแม่น้ำาหนานเฟย โดยเรียบเรียงเส้นสายของภาพ

สะท้อนบนแม่น้ำาออกมาเป็นรูปลักษณ์ Façade ซึ่งสื ่อสาร

โดยตรงถึงการเคลื่อนไปของแม่น้ำาสำาคัญของเมือง ในขณะ

เดียวกัน ฝ้าซึ่งเป็นเหลี่ยมมุมลดหลั่น ก็จำ าลองมาจากรูปแบบ

สถาปัตยกรรมจีนโบราณแบบ ฮุย มรดกทางสถาปัตยกรรม

ที่พบได้ในเขตเมืองเก่าของเหอเฟย ซึ่งผู้ออกแบบรื้อฟื้นให้

กลับมาในรูปแบบร่วมสมัย โดยจำาลองจังหวะลดหลั่นของ

หลังคาสถาปัตยกรรมโบราณให้มาปรากฏบน Façade และ

ตลอดทั้งในอินทีเรีย ทั้งนี้เพื่อเชื่อมโยงอาคารพื้นที่ทาง

วัฒนธรรมแห่งใหม่กับเรื่องราวเก่าแก่ของเมืองนั ่นเอง

The resulting design is a striking, angular white volume,

its façade articulated by white walls punctuated

at irregular intervals by slender, concealed glass

panels. According to the architects, this composition

captures the ephemeral reflections on the surface

of the nearby Nanfei River —Hefei’s vital waterway.

By abstracting these fluid reflections into architectural

lines, the façade directly conveys the imagery

of the river's movement. Additionally, the museum’s

angular ceiling geometry draws inspiration from

the stepped forms of traditional Hui-style architecture—an

iconic heritage found prominently within

Hefei’s historic quarter. The designers revitalized this

ancient architectural vocabulary in a contemporary

manner, echoing the rhythmic, cascading patterns of

traditional rooflines onto the façade and extending

this motif into the museum’s interior spaces. This

thoughtful integration ultimately bridges the new

cultural building with the city's rich and enduring

historical fabric.

6

พื้นที่ภายในส่วนใหญ่เป็น

ผนังโค้ง รูปทรงรีฟอร์ม

ตามความตั้งใจให้สเปซ

ภายในดูน่าเดินและดึงดูด

7

ยื่นอาคารออกไปคล้ายเป็น

ชายคา แล้วออกแบบฝ้าให้

ต่อเนื่องกันระหว่างภายใน

และภายนอก

6


SIMPLE ART MUSEUM

33

7


34

theme / review

8

ผนังโค้งช่วยขับชิ้นงาน

จัดแสดงให้ดูโดดเด่นขึ้น

The museum draws inspiration

from the rippling

waters of Nanfei River that

have shaped the region for

millennia.

พื้นที่ภายในพิพิธภัณฑ์แบ่งออกเป็น ห้องต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อ

กันอย่างลื่นไหล แบ่งออกเป็นพื้นที่แกลเลอรีอยู่ที่ชั้น 1 และ

พื้นที่สำานักงานของพิพิธภัณฑ์อยู่ที่ชั้น 2 โดยพื้นที่ใช้สอย

ชั้นล่างเป็นพื้นที่จัดแสดงศิลปะรูปแบบต่าง ๆ แบ่งออกเป็น

ห้องจัดแสดงเฟอร์นิเจอร์สะสมหายากของเจ้าของโครงการ

ห้องนิทรรศการศิลปะแบบหมุนเวียน ไปจนถึงห้องจัดแสดง

ศิลปะแบบภาพเคลื่อนไหว โดยตั้งใจให้ทุกชิ้นงานที่ถูกนำา

มาจัดแสดงเป็นศิลปะแบบร่วมสมัยที่เข้าถึงง่ายเหมือนกับ

ชื่อ Simple Art นอกจากนั้น ก็ยังประกอบด้วยร้านค้า ห้อง

สมุด และคาเฟ่ ไว้เป็นที่มาแวะพักหย่อนใจสำ าหรับคนทั่วไปได้

ทั้งหมดเรียงร้อยกันไปในพื้นที่ที่ไม่ได้เป็นห้องสี่เหลี่ยมตรงไป

ตรงมา แต่เป็นห้องรูปทรงอิสระ ส่วนใหญ่เป็นผนังโค้ง ซึ่งตรง

กับความตั้งใจของผู้ออกแบบที่ต้องการสร้างให้พิพิธภัณฑ์

ที่มีขนาดเล็กให้ดูน่าเดินและดึงดูด และมุมโค้งต่าง ๆ ก็จะ

สามารถขับชิ้นงานจัดแสดงให้ดูโดดเด่นขึ้นได้ด้วย

Inside, the museum's interior unfolds through a

series of interconnected spaces, designed to flow

seamlessly into one another. Gallery spaces occupy

the ground floor, while administrative offices are

discreetly positioned on the second floor. The

lower level hosts a thoughtfully curated array of

exhibitions, ranging from a gallery showcasing

rare collectible furniture belonging to the project’s

developer, to a rotating exhibition space, and even

a dedicated room for moving-image artworks. In

keeping with the institution’s name—Simple Art—

the museum focuses on contemporary art that

remains accessible and approachable. Complementing

these cultural offerings are retail spaces, a

library, and a café, all intended as welcoming spots

for relaxation and social engagement. Rejecting the

rigidity of standard rectangular rooms, the designers

favored spaces defined by gently curving walls

and organic forms. This deliberate departure from

conventional geometry creates a fluid, engaging

environment, making the modestly scaled museum

feel inviting and dynamic. The curvature of the walls

also serves to accentuate and highlight individual

artworks, bringing each piece into clearer focus.

8


SIMPLE ART MUSEUM

35

9

9

สำานักงานบนชั้น 2 ดึงเอา

ภาษาโดยรวมเดียวกันมา

ใช้ออกแบบ

คุณกุลธิดา ผู้ออกแบบยังเสริมว่า พิพิธภัณฑ์นี้เป็นเพียง 1

ใน 5 พื้นที่ที่พวกเขาออกแบบภายใต้โครงการแทรกพื้นที่

ทางศิลปะวัฒธรรมเข้าไปในศูนย์การค้าเฟอร์นิเจอร์แห่งนี้

ซึ่งนอกจากพิพิธภัณฑ์แห่งนี้แล้วก็ยังมีแกลเลอรีศิลปะ และ

พื้นที่โชว์รูมอื่น ๆ ที่ใส่การเล่าเรื่องเชิงวัฒนธรรมเข้าไป

ทั้งหมดแทรกอยู่ภายใต้ศูนย์การค้าเดียวกัน และเรียงร้อย

เชื่อมต่อกันไปเป็นโครงการใหญ่ภายใต้ชื่อ The Simple

World

การแทรกพื้นที่ทางศิลปวัฒนธรรมเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ

พื้นที่ศูนย์การค้าเช่นนี้ ผู้ออกแบบอย่าง HAS Design and

Research ที่มีประสบการณ์ได้ทำางานทั้งในไทยและจีน

กล่าวว่า ไม่ใช่เรื่องใหม่สำ าหรับประเทศจีน เพราะจะพบว่า

มีศูนย์การค้ามากมายในหลายเมืองใช้วิธีเดียวกันนี้ในการ

สร้างพื้นที่พิเศษและจุดเด่นให้กับตัวเองผ่านพื้นที่เชิงศิลป

วัฒนธรรม และพวกเขายังแลกเปลี่ยนว่า ปัจจัยที่เอื้อให้เกิด

การบรรจุพื้นที่พิเศษเช่นนี้แทรกเข้าไปในพื้นที่ทางการค้านั้น

ส่วนหนึ่งมาจากนโยบายของรัฐบาลที่จูงใจให้เอกชนส่งเสริม

กิจกรรมทางศิลปะวัฒนธรรมในเมือง และอุทิศพื้นที่ส่วนหนึ่ง

ของตนให้แก่คนทั่วไปได้มาหย่อนใจแม้ไม่ได้ต้องการมาจับ

จ่ายใช้สอย โดยการสร้างพื้นที่เหล่านี้สามารถแลกเปลี่ยนกลับ

มาเป็นค่าเช่าพื้นที่ที่ถูกลง หรือไม่ก็ทำ าให้การขออนุมัติสร้าง

โครงการเชิงพาณิชย์ใด ๆ ต่อรัฐบาลนั้นเป็นไปได้ง่ายขึ้นด้วย

Kulthida further explains that this museum represents

just one of five cultural spaces designed by

their team within the furniture shopping complex. In

addition to the museum, the project encompasses

a series of art galleries and culturally themed

showrooms, all brought together under a single

commercial roof. Together, these spaces form a

broader, integrated cultural initiative known as

'The Simple World'.

Integrating cultural and artistic spaces within

commercial environments, as HAS Design and

Research has done here, is not entirely novel within

China, according to the designers, whose practice

has spanned notable projects in both Thailand and

the mainland. They note that numerous shopping

centers across Chinese cities have adopted similar

strategies, leveraging art and culture as tools for

differentiation and crafting distinctive identities to

draw visitors. The designers also shed light on the

enabling factors behind this growing trend—most

notably, government policies that incentivize private

developers to embed cultural programming within

commercial developments. By allocating portions of

retail space to public cultural and leisure activities—areas

where people are encouraged to gather,

relax, and socialize without the pressure to spend—

developers can receive tangible benefits, such as

reduced rental fees or smoother project approval

processes from local authorities.


36

theme / review

Rejecting the rigidity of

standard rectangular

rooms, the designers

favored spaces defined by

gently curving walls and

organic forms.

10

ผนังแบบโค้งถูกดึงมาใช้

ในหลากหลายบริบท

11

ห้องสมุดเชิงศิลป-

วัฒนธรรมเป็นอีกหนึ่ง

พื้นที่ถาวร ใช้จัดเวิร์คชอป

ต่าง ๆ ได้ด้วย

10

ในแง่หนึ่ง จึงเป็นประโยชน์ต่อคนในเมืองนั้น ๆ เองที่ได้มี

พื้นที่พบปะหย่อนใจเพิ่มมากขึ้นในเมือง และก็ตอบโจทย์

การขาดแคลนซึ่งพื้นที่ทางศิลปะวัฒนธรรมในเมือง อันเนื่อง

มาจากอาจสู้ค่าใช้จ่ายไม่ไหว หากเทียบกับการทำาโครงการ

ให้เป็นพื้นที่การค้าเพื่อหากำาไร มากกว่านั้น คุณ Jenchieh

Hung และคุณกุลธิดา ปิดท้ายว่า ยังเป็นโอกาสอันดีอีกด้วย

สำาหรับนักออกแบบจากต่างชาติผู้แสวงหาโอกาสออกแบบ

งานในจีน เพราะโปรแกรมพิเศษอย่างพื้นที่ทางศิลปะ

วัฒนธรรมเหล่านี้นี่เองที่ประเทศจีนก็ยินดีและนิยมมองหาส

ถาปนิกจากต่างถิ่นให้เข้าไปเป็นผู้ริเริ่ม ส่วนหนึ่งก็เพราะ

จะได้เกิดสีสันใหม่ๆ ในแวดวงสถาปัตยกรรม และในอีกแง่

ก็เป็นความน่าตื่นเต้นในเชิงภาพลักษณ์อาคาร เมื่อมีฝีไม้

ลายมือใหม่ ๆ ได้เข้ามาวาดสร้างสถาปัตยกรรมแปลกใหม่

ในประเทศจีนนั่นเอง

From an urban perspective, this integration provides

clear benefits for city residents by creating more

communal spaces and helping to alleviate the

persistent shortage of accessible cultural venues.

Without such policy support, these types of projects

would likely struggle to remain viable when competing

with profit-oriented developments. Finally,

architects Jenchieh Hung and Kulthida Songkittipakdee

point to an added benefit: This model has created

new opportunities for international designers

seeking meaningful work in China. The demand for

culturally enriched spaces has led many developers

to actively seek out foreign architects, drawn to the

fresh perspectives and inventive approaches they

bring. This influx of international talent not only enriches

the architectural discourse but also generates

excitement around the visual and spatial possibilities

shaping the country’s evolving built environment.

11

Project name: Simple Art Museum Location: Hefei, China Completion year: 2024 Architecture firm: HAS design and research Website: www.hasdesignandresearch.com Lead

architects: Jenchieh Hung, Kulthida Songkittipakdee Design team: Jenchieh Hung, Kulthida Songkittipakdee, Atithan PongpitakLighting consultant: Jenna Tsailin Liu

Lighting technology: Visual Feast (VF) Landscape consultant: Weili Yang Construction consultant: Zaiwei Song Constructor: Guangdong Xingyi Decoration Group Anhui

Co., Ltd Site area: 600 sq.m. Gross built area: 1,150 sq.m. Photo credit: W Workspace, Fangfang Tian


37

12

12

ฝ้าลดหลั่นเป็นชั้นเป็น

แนวคิดสะท้อนลักษณะของ

สถาปัตยกรรมจีนโบราณ

แบบฮุย เป็นแนวคิดการเล่า

เรื่องราวทางวัฒนธรรมของ

เมืองผ่านสถาปัตยกรรม

ร่วมสมัย


38

theme / review

PHNOM

PENH

HOUSE

PHNOM

PENH,

CAMBODIA

EKAR

2025

บ้านพักอาศัยรูปแบบโมเดิร์นสี่ชั้นที่โดดเด่นด้วยจังหวะของการเน้นย้ำ าวาง

น้ำาหนักให้เส้นสายล้อรับตั้ง-นอนอย่างไม่สม่ำาเสมอ และเผยบุคลิกท่าที

ของสถาปัตยกรรมผ่านแนวกำาแพงคู่สีดินของกระเบื้องเทอราคอตต้า

ซึ่งแทรกแยกแบ่งกลางความต่อเนื่องของพื้นที่ภายใน เป็นช่องเว้นว่าง

พื้นที่กึ่งกลางแจ้ง แม้จะตั้งกั้นตระหง่านราวกับกรอบฉาก façade ที่ร่น

ซ้อนเก็บไว้ และเมื่อตอบรับไปกับความเรียบง่ายของการจัดวางแนว

อาคารในรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าเรียงซ้อนกัน กลับผสานสร้างให้ Phnom

Penh House กลมกลืนท่ามกลางทัศนียภาพเมืองพนมเปญ ประเทศ

กัมพูชาได้อย่างน่าสนใจ อาคารที่พักอาศัยซึ่งรองรับการใช้งานมากกว่า

การพักผ่อนหย่อนใจหลังนี้ เป็นผลงานออกแบบของเอกภาพ ดวงแก้ว

สถาปนิกผู้ก่อตั้งออฟฟิศออกแบบสถาปัตยกรรม EKAR architects ซึ่ง

เริ่มต้นก่อสร้างตั้งแต่ตุลาคม 2563 โดยมีกำ าหนดแล้วเสร็จสมบูรณ์ในปีนี้

1

A striking four-story modern residence, Phnom Penh House,

plays with rhythm and weight through an interplay of vertical

and horizontal lines that appear in a deliberately asymmetrical

composition. The architectural character unfolds through a

pair of terracotta walls whose earthen hues add beautiful

warmth while subtly fragmenting the continuity of the interior.

These walls create a semi-outdoor void at the core of the

structure—standing with a presence akin to a façade that is

subtly recessed, forming layered frames that enhance the

spatial depth. When juxtaposed with the simplicity of the

building's stacked rectangular forms, these design elements

allow Phnom Penh House to interestingly and seamlessly

integrate into the urban landscape of Phnom Penh, Cambodia.

More than a private dwelling, this residence is designed to

support a way of life that extends beyond domestic comfort.

Conceived by Ekaphap Duangkaew, founder of EKAR archi-

EKAR, construction began in October 2020 and is set for

completion this year.

Text: Surawit Boonjoo

Photo Credits: Kanthamanee, Suttikan Pattalapo


2

1

ภาษาการออกแบบผ่านวัสดุ

ที่อ้างอิงกับสภาพบรรยากาศ

ของเมืองพนมเปญ

2

เสริมลูกเล่นด้วยกรอบฐาน

ย่อมุมที่หยิบยืมมาจาก

ปราสาทหินโบราณที่เป็น

อัตลักษณ์สำาคัญของพื้นที่


40

theme / review

3

3

ความหมายของผืนดิน

สื่อสารผ่านสีของศิลาแลง

นำามาสู่การใช้วัสดุบนผนัง

คู่หลักจากผืนดิน

เอกภาพเริ่มต้นจากการลงพื้นที่ร่วมประสบการณ์วิถีชีวิตใน

แวดวงสังคมที่เฉพาะ พร้อมสำารวจ และสัมผัสหาทุกความ

เป็นไปตามบริบททางพื้นที่ รวมไปถึงสภาพแวดล้อม ที่ล้วน

แต่สำาคัญต่อการกำาหนดรูปแบบของอาคารและการใช้งาน

โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับบริบทอันจำาเพาะนี้ เนื่องจากเกือบทุก

กิจกรรมไม่ว่าจะเป็นรับประทานอาหาร พักผ่อน ทำาสปา แต่ง

ผม สันทนาการ และสังสรรค์จัดงานเลี้ยง ต่างก็ครบถ้วนจบ

โดยไม่ต้องเดินทางออกไปใช้บริการภายนอก และพวกเขา

มักจะออกแวะเวียนไปเยี่ยมเยือนร่วมงานเลี้ยงที่จะจัดขึ้นที่

บ้านของใครสักคนหนึ่ง พื้นที่จัดเลี้ยงจึงเป็นส่วนสำาคัญของ

บ้านไม่น้อยกว่าพื้นที่พักอาศัย บริเวณชั้นหนึ่งของบ้านจึงจัด

แบ่งไว้สำาหรับใช้ต้อนรับแขก นอกจากที่ได้จัดสรรแบ่งพื้นที่

ส่วนหนึ่งเป็นห้องจัดเลี้ยงแล้วนั้น ห้องนั่งเล่นขนาดใหญ่ที่

สามารถเปิดประตูกว้างเชื่อมยาวไปกับลานจุดรับ-ส่ง ก็ยัง

พร้อมรองรับโต๊ะจัดเลี้ยงสำาหรับงานขนาดใหญ่ ขณะเดียวกัน

ห้องครัวก็เพิ่มพื้นที่ในการเตรียม ขอดเกล็ด ชำ าแหละ และล้าง

เพื่อสร้างพื้นที่ที่เหมาะสมและสะดวกต่อการประกอบ

อาหารที่จริงจัง

Ekaphap's design process was rooted in closely

reading the site's social dynamics. He closely

observed the way of life in this specific community,

examining every environmental and spatial factor

essential to shaping the building's form and

functionality. The unique nature of this context

is reflected in the house's design, as nearly all

daily activities—including dining, relaxing, spa

treatments, hairstyling, recreation, and social

gatherings—take place entirely within the home,

eliminating the need to seek external services.

Given this lifestyle, residents frequently host and

visit one another's homes for social gatherings,

making event spaces just as important as living

areas. Accordingly, the first floor is dedicated to

welcoming guests. In addition to a formal banquet

room, a spacious living area opens fully onto the

drop-off courtyard, transforming into a generous

setting for large-scale gatherings. The kitchen,

too, has been thoughtfully expanded to include

zones for food preparation, scaling, butchering,

and cleaning—ensuring efficiency and convenience

for serious culinary activities.


PHNOM PENH HOUSE

41

4

บ้านขนาดใหญ่กับพื้นที่ใช้สอย 2,800 ตารางเมตร

บนที ่ดิน 300 ตารางวางถูกออกแบบอ้างอิงตรงตามหลัก

ฮวงจุ้ยที่เจ้าของโครงการกำาหนดมาให้ ภายใต้ผังรูปสี่เหลี่ยม

เก้าช่องซึ่งระบุตำาแหน่งห้องนอนของผู้พักอาศัยแต่ละคน

อย่างเฉพาะเจาะจง การจัดวางพื้นที่ใช้สอยอื่น ๆ จึงแบ่งและ

พิจารณาอย่างเหมาะสมตามหลักการ รวมไปถึงช่องแยก

กลางพื้นที่สวนกลางบ้านและสระว่ายน้ำ าด้วยเช่นกัน ช่องว่าง

ที่เปิดโล่งนอกจากจะช่วยให้อากาศสามารถไหลเวียนได้ดียิ่ง

ขึ้น ก็ยังช่วยให้อาคารได้เปิดรับบรรยากาศโดยรอบ อีกทั้ง

เอื้อให้แสงแดดได้ส่องสว่าง และอากาศสามารถเลื่อนเวียน

ไปตลอดทั้งอาคาร แนวระหว่างกำาแพงสองผืนนี้จึงได้เข้ามา

ประนีประนอมกับการจัดวางผังพื้นให้ไม่แน่นทึบจนเกินไป

ทั้งยังเปิดรับตอบโต้กับบริบทสภาพแวดล้อมของเมืองโดย

รอบ พร้อมไปกับการเลือกใช้วัสดุกระเบื้องดินเผาที่บ่งบอก

ตัวตนของผู้อยู่อาศัยจากต่างถิ่น และไม่ลืมที่จะเย้าหยอก

กับปราสาทหินโบราณอันเป็นอัตลักษณ์สำาคัญของพื้นที่ ด้วย

การเสริมลูกเล่นติดตั้งกรอบฐานย่อมุมสร้างพลวัตให้กับพื้น

ผิวของอาคาร

“บ้านกลับกลายเป็นอีกสื่อกลางสะท้อนภาพลักษณ์ความ

นึกคิดของเจ้าของและผู้อยู่อาศัย ผมจึงพยายามถ่ายทอดให้

สถาปัตยกรรมที่พักอาศัยหลังนี้สื่อสารถึงการเดินทางมาอยู่

อาศัย อีกทั้งประกอบธุรกิจ ด้วยความเคารพต่อทั้งผู้คนและ

สถานที่อย่างตรงไปตรงมาและจริงใจผ่านภาษาการออกแบบ

วัสดุในการตกแต่งถูกเลือกใช้โดยต้องการอ้างอิงกับสภาพ

บรรยากาศของเมืองพนมเปญ ที่ก่อรากแน่นหนักด้วยดิน

ในความหมายของผืนดิน ไม่ว่าจะเป็นศิลาแลง ดินที่แข็งตัว

หรือทางเดินดินที่ฝุ่นกระจายคละคลุ้งในอากาศ นำาไปสู่การ

ใช้วัสดุบนผนังคู่หลักจากผืนดิน”

With 2,800 square meters of usable space on a

300-square-wah plot, this sizable residence is

meticulously designed in alignment with the principles

of Feng Shui, as specified by the client. At

its core lies a nine-grid layout, precisely dictating

the placement of each resident's bedroom, while

the remaining program is carefully distributed to

maintain harmony with these foundational principles.

This approach extends to the central garden and

swimming pool, where a strategically positioned

void enhances airflow and fosters a seamless

connection between the house and its surroundings.

Beyond facilitating natural ventilation, these open

spaces allow sunlight to filter deep into the interior,

ensuring a continuous movement of light and

air throughout the building. The tension between

solid walls and open spaces is deliberately balanced

to prevent excessive enclosure, allowing

the house to engage in a dialogue with the urban

landscape beyond. Materials play a critical role

in this mediation—terracotta tiles, selected as

a nod to the owner's cultural roots, establish a

tactile connection to the site. At the same time,

the design subtly references the region's ancient

stone temples through recessed corner details,

which introduce a sense of rhythm and depth to

the building's surfaces.

”A home inevitably becomes a medium through

which the identity and aspirations of its inhabitants

are expressed. I intended to translate this

notion into an architecture that speaks of the

residents' migration, habitation, and business

operation—one that is respectful and sincere in

its relationship with people and place through its

design language. Material choices were guided

by an intent to reflect the character of Phnom

Penh—a city firmly anchored in the earth, both

literally and metaphorically. The narrative of the

land, from laterite stone to hardened clay and

dust-laden footpaths, finds expression in the

building's main structural walls.”

4

พื้นที่เปิดโล่งช่วยในการ

ไหลเวียนอากาศและรับ

บรรยากาศโดยรอบ

5


.

.

. .

42

theme / review

2ND FLOOR PLAN

1ST FLOOR PLAN

1M

5

5

ผังพื้นภายในถูกจำากัด

อย่างเฉพาะเจาะจงตาม

ความต้องการของเจ้าของ

โครงการ

ด้วยระบบและศักยภาพการก่อสร้างภายในท้องถิ่นที่จำากัด

ผนวกกับความต้องการของเจ้าของโครงการในการเลือกใช้

วัสดุองค์ประกอบส่วนต่าง ๆ ที่มีคุณภาพสูง และงานระบบ

อาคารที่มีประสิทธิภาพ เจ้าของโครงการจึงรับผิดชอบจัดการ

เลือกสรรวัสดุและอุปกรณ์จากหลากหลายแหล่งผ่านผู้ประกอบ

การมากมาย อาทิ หน้าต่างและระบบบานประตูจากยุโรป

กระเบื้องเทอราคอตต้านำาเข้าจากประเทศเวียดนาม และ

ลิฟต์โดยสารจากประเทศไทย สถาปนิกให้ข้อมูลว่า สำ าหรับ

งานโครงสร้างที่ต้องการความแม่นยำารับผิดชอบดูแลโดยช่าง

ชาวไทย ในขณะที่บริเวณหน้างานจะเป็นช่างชาวกัมพูชาคอย

ดำาเนินการ ผลจากความไม่ต่อเนื่องของงานซึ่งแบ่งแยกรับผิด

ชอบเป็นส่วน หลายครั้งจึงนำามาสู่การปรับแก้ไขช่วงรอยต่อ

ระหว่างงาน หรือรื้อทำาใหม่ด้วยไม่ถึงเกณฑ์มาตรฐานอยู่

เสมอ จึงนับเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ก่อให้เกิดความล่าช้าในการ

ก่อสร้าง นอกเหนือไปจากช่วงเวลาที่เกิดความไม่สะดวก

ระหว่างการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19

Given the limitations of local construction systems

and capabilities, combined with the client's

preference for high-quality materials and efficient

building systems, the selection and procurement

process became a carefully managed effort.

The client took direct responsibility for sourcing

materials and equipment from multiple suppliers,

including European window and door systems,

terracotta tiles imported from Vietnam, and passenger

elevators from Thailand. According to the

architect, structural components requiring high

precision were overseen by Thai craftsmen, while

on-site construction was carried out by Cambodian

workers. However, the division of labor across

different teams often led to inconsistencies at

junctions between construction phases, necessitating

frequent adjustments or even reconstruction

when elements failed to meet required standards.

These challenges contributed to construction delays,

compounded further by disruptions during the

COVID-19 pandemic.


PHNOM PENH HOUSE

43

6

บ้านหลังนี้ที่สื่อสารถึง

การเดินทางมาอยู่อาศัย

ประกอบธุรกิจด้วยความ

เคารพต่อผู้คนและบริบท

ที่รายรอบ

เอกภาพกล่าวถึงประสบการณ์ระหว่างการทำ างานกับโครงการ

ก่อสร้างอาคารที่พักอาศัยซึ่งเป็นโครงการแรกของ EKAR

ในประเทศกัมพูชาและก่อสร้างล่าสุดในต่างประเทศ

นอกจากเขาจะมีโอกาสสัมผัสและเข้าใจอย่างลึกซึ้งต่อ

วัฒนธรรม แวดวงสังคม การใช้ชีวิตและการนึกคิดของผู้คน

ซึ่งต่างออกไป เขาเล่าเสริมว่า “อันที่จริงแล้ว ไม่เพียงแต่

โครงการ Phnom Penh House เท่านั้น แต่เช่นเดียวกัน

กับในประเทศอื่น เราจะต้องเรียนรู้และรับมือไปกับการเขียน

แบบใหม่ เพื่อให้สามารถเป็นไปตามเงื่อนไขความต้องการ

ของกฎหมาย และโดยเฉพาะระบบการทำางานก่อสร้างของ

ประเทศนั้น ๆ อยู่เสมอ อย่างในกรณีนี้ เราต้องกึ่งทำ าหน้าที่

บริหารลำาดับการก่อสร้างอีกด้วย เนื่องจากที่กัมพูชาไม่มี

ผู้รับเหมาหลัก โดยเมื่องานแต่ละส่วนจะเริ่มดำ าเนินการ ทาง

เจ้าของโครงการก็จะกลับมาสอบถามเราให้กับช่างผู้รับเหมา

ที่เข้ามาดูแลจัดการเฉพาะส่วน ซึ่งทำาให้เราต้องกลับมาแยก

แบบเฉพาะส่วน ๆ จากเล่มแบบที่เราจัดทำาแล้วเสร็จอีกครั้ง

อยู่เสมอ”

ระยะเวลากว่า 5 ปีในการก่อสร้าง นับว่าเป็นช่วงขณะที่น่า

จะเพียงพอให้สามารถตระหนักและรับรู้ถึงการปรับเปลี่ยน

เคลื่อนต่อไปในทุกแง่มุม โดยเฉพาะมิติทางช่วงวัยและจำ านวน

ผู้อยู่อาศัยที่เพิ่มขยายขึ้น นำ ามาสู่การถกถาม พร้อมเฝ้าพินิจ

ต่อกับบริบทการอยู่อาศัยที่ได้สลับเพิ่มบางองค์ประกอบอย่าง

ถ้วนถี่อีกครั้ง ก่อนออกแบบแก้ไขให้ที่พักพิงตอบสนองต่อ

สภาวการณ์ปัจจุบันอย่างถึงที่สุด - บ้านที่พอเหมาะพอดีกับ

ทุกคน - ตอกย้ำาถึงภาษาการออกแบบอันเฉพาะที่แม้จะตรงไป

ตรงมา แต่สละสลวยด้วยท่วงทีปฏิสัมพันธ์อันไหลลื่นข้าม

ประสานบริบทและสภาพแวดล้อมใน-นอก ชวนให้นึกถึงชุด

ความคิดที่ว่า “บ้านไม่สามารถสร้างให้แล้วเสร็จ เพราะมักถูก

ต่อเติมด้วยบริบทและความต้องการอันหลากหลายต่อสิ่งเร้า

อยู่เสมอ” แน่นอนเป็นอย่างยิ่งว่า บ้านที่นอบน้อมต่อสภาพ

แวดล้อมเมืองพนมเปญ อีกทั้งบริบทสังคมและวัฒนธรรม

กัมพูชาหลังนี้ก็เป็นเฉกเช่นเดียวกัน

6

Ekaphap reflected on his experience working on

this project, which marks EKAR's first residential

commission in Cambodia and its most recent international

construction. Beyond gaining a deeper

understanding of the local culture, social dynamics,

and way of life, he noted that every international

project requires adapting to different legal

frameworks and construction methodologies.

“In reality, this applies not only to Phnom Penh

House but to all our projects abroad. Each time,

we must learn to navigate a new set of regulations

and drafting conventions to comply with

local building codes while also adapting to the

country's specific construction processes,”

he explained. “In this case, we had to take on

a quasi-management role in sequencing the

construction because we didn't have a principal

contractor in Cambodia. Instead, as each phase

was set to begin, the client would consult us to

coordinate with subcontractors responsible for

specific tasks. This meant we constantly had to

extract and reorganize detailed drawings from

the completed working drawings to provide clear

instructions for each stage.”

A construction timeline spanning over five years

offers ample opportunity to observe and absorb

the inevitable shifts that come with time—particularly

in terms of the evolving needs of its

residents, both in age and number. This gradual

transformation prompted careful reconsideration,

a process of questioning and re-examining the

living environment, leading to deliberate refinements

that ensure the home responds as fully as

possible to the present moment. A house that fits

everyone—this idea underscores a design language

that, while direct and unembellished, achieves

elegance through its fluid interaction with both its

immediate surroundings and the broader urban

context. It evokes the notion that a house is never

truly complete, as it is continuously shaped by

shifting circumstances, external stimuli, and the

evolving needs of its inhabitants. This residence,

deeply attuned to Phnom Penh's urban fabric, as

well as Cambodia's social and cultural landscape,

embodies precisely this principle.

Project name: Phnom Penh House Location: Phnom Penh, Cambodia Complete year: 2025 Architect: EKAR Architects Interior Architect: EKAR Architects


44

theme / review

THE CORNER HOUSE

SAN JUAN, MANILA,

THE PHILIPPINES

DEPARTMENT OF

ARCHITECTURE

2023

1

“San Juan” หรือนามเดิมว่า “San Juan del Monte” คือชื่อของย่าน

เมืองประวัติศาสตร์ใจกลางกรุงมะนิลา เมืองหลวงของประเทศฟิลิปปินส์

พื้นที่แห่งนี้มีโครงการ The Corner House โครงการพัฒนาศูนย์การค้า

แบบกึ่งเปิดโล่งแห่งใหม่ที่ถูกออกแบบโดย Department of Architecture

บริษัทสถาปนิกสัญชาติไทย ที่เข้าไปมีส่วนร่วมสำาคัญในการพัฒนา

พื้นที่ผ่านงานออกแบบสถาปัตยกรรม เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ

ของพฤติกรรมการใช้สอยประโยชน์อาคารศูนย์การค้าในรูปแบบใหม่

‘San Juan,’ formerly named ‘San Juan del Monte’, is a historic

district in the heart of Manila, the capital of the Philippines.

Nestled within this dense urban fabric, The Corner House

emerges—a new semi-open shopping complex designed by

Department of Architecture, a Thai firm that plays a significant

role in shaping the built environment through its architectural

interventions. The project’s conception and presence

respond to evolving patterns of retail space usage.

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya

Photo Credits: Jar Concengco except as noted


2

1

ภาพทัศนียภาพภายนอก

ของโครงการท่ามกลาง

ย่าน San Juan ของกรุง

มะนิลา

2

พื้นที่ภายในโถงของอาคาร

ถูกออกแบบให้เป็นพื้นที่

อเนกประสงค์ท่ามกลาง

ระบบระบายอากาศแบบ

เปิดโล่ง


46

theme / review

“The project originated when the Filipino

developer visited Bangkok and was drawn to our

work, The Commons Thonglor. That experience

ultimately led to the creation of The Corner House

in Manila,” explains Amata Luphaiboon, architect

at Department of Architecture.

From the outset, the design team faced the challenge

of the site’s urban context. Spanning just six

square kilometers, the district is densely packed

with office buildings, educational institutions, and

high-income residential enclaves. With a population

of over 126,000 people (as of 2020), the area

was facing a critical shortage of public spaces

and greenery, with only 1.4 to 2.4 square meters of

public space per urban resident. Even pedestrian

infrastructure was scarce—most buildings are

built right up to the edge of the road, leaving little

room for sidewalks, and joggers are often forced

to run on vehicle lanes. These urban constraints

became key considerations in the project's spatial

design approach.

3

The region’s climatic conditions—particularly the frequent monsoon

winds—shaped the development of the building’s breathable skin.

3

ภูมิทัศน์ด้านนอกโครงการ

ฝั่งทิศใต้ ขนานกับถนน

Recto

4

ทัศนียภาพของพื้นที่

ภายในอาคาร ชั้น 1

บริเวณ corridor ที่เชื่อม

ด้วยบันไดกับพื้นที่ทาง

เดินภายในอาคาร

“จุดเริ่มต้นของโครงการเกิดขึ้นจากการที่เจ้าของโครงการ

ซึ่งเป็นชาวฟิลิปปินส์เข้ามาเที่ยวที่กรุงเทพฯ เขาชื่นชอบ

งานออกแบบของเราที่ The Commons Thonglor มากจึง

นำามาสู่การริเริ่มโครงการ The Corner House ขึ้นที่กรุง

มะนิลา” คุณอมตะ หลูไพบูลย์ สถาปนิกแห่ง Department

of Architecture กล่าวถึงที่มาที่ไปของโครงการ

เงื่อนไขแรกที่ทีมผู้ออกแบบต้องประสบ คือบริบทแวดล้อม

ของพื้นที่ตั้งโครงการ สภาพแวดล้อมของพื้นที่ย่าน San Juan

แห่งนี้มีขนาดเพียง 6 ตารางกิโลเมตร เนืองแน่นไปด้วย

อาคารสำานักงาน สถาบันการศึกษา และที่พักอาศัยสำาหรับ

ผู้มีรายได้สูง มีประชากรในพื้นที่กว่า 126,000 คน (2020)

แต่กลับขาดแคลนพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวของเมือง

(อัตราส่วนพื้นที่สาธารณะ 1.4-2.4 ตร.ม. ต่อประชากร

ในพื้นที่เมือง) หรือแม้แต่พื้นที่บาทวิถียังเป็นสิ่งขาดแคลน

ที่ดินส่วนใหญ่ปลูกประชิดกับเขตทางถนน ส่งผลให้คนที่

วิ่งออกกำาลังกายจำาเป็นต้องลงมาวิ่งบนเลนรถยนต์ ด้วย

เงื่อนไขของปัญหาข้างต้น นำามาสู่โจทย์การออกแบบเชิง

พื้นที่

4


THE CORNER HOUSE

47

ลักษณะของที่ตั้งโครงการขนาด 4,200 ตร.ม. ตั้งอยู่

บริเวณหัวมุมถนน Recto ตัดกับถนน P. Geuvarra ทีม

สถาปนิกได้ออกแบบตัวอาคารขนาด 4 ชั้น ภายใต้พื้นที่

รวม 16,100 ตร.ม. โดยใช้โครงสร้างหลักของอาคารด้วย

โครงสร้างเหล็กวางระบบระบายอากาศแบบกึ่งเปิดโล่ง ใน

ส่วนของการออกแบบผังและการสัญจร ผังของอาคารได้ถูก

ออกแบบเส้นทางสัญจรหลักของโครงการให้เชื่อมกันด้วย

ด้วยบันไดขนาดใหญ่ที่เปิดรับกับพื้นที่บาทวิถีบริเวณหัวมุม

ถนน พื้นที่ทางเข้าส่วนนี้จะนำามาสู่พื้นที่ Supermarket

บนชั้น 1

The project occupies a 4,200-square-meter site at

the intersection of Recto Street and P. Guevarra

Street. The architects have conceived a four-story

structure with a total floor area of 16,100 square

meters, employing a steel framework and a

semi-open ventilation system to enhance spatial

permeability. The floor plan and circulation are

structured around a central grand staircase that

seamlessly engages with the pedestrian walkway

at the street corner. This particular entrance

facilitates a natural flow into the ground-floor

supermarket.

5

5

ส่วนนั่งพักผ่อนและสำาหรับ

รองรับกิจกรรมต่าง ๆ

ในพื้นที่เอนกประสงค์

6

ทัศนียภาพฝั่งทิศใต้ของ

อาคารที่สามารถเห็นแนว

เส้นของส่วน Jogging

Track พื้นที่ลู่วิ่ง ที่เป็นองค์

ประกอบในการเชื่อมพื้นที่

ระหว่างชั้นเข้าด้วยกัน

6


48

theme / review

7

พื้นที่นั่งรับประทานอาหาร

และทำางานในสวนเปิดโล่ง

ภายในอาคาร หนึ่งในหัวใจ

สำาคัญของโครงการ

8

พื้นที่นั่งทำางานบริเวณ

Terrace และบันไดที่เชื่อม

ระหว่างชั้น 1 กับชั้น 2

ถูกออกแบบให้สัมพันธ์

กับผนังกระจกที่ห่อหุ้มตัว

อาคาร

สถาปนิกยังได้ออกแบบเส้นทาง Jogging Track หรือส่วน

ของลู่วิ่งทางฝั่งทิศใต้ ขนานกับแนวถนน Recto โดยพื้นที่

ส่วนลู่วิ่งนี้จะถูกออกแบบความลาดชันให้เหมาะสมกับระยะ

วิ่ง และคำานวณให้ระยะทางของการวิ่งจากจุดเริ่มต้นที่ชั้น 1

ไปบรรจบกับพื้นที่ชั้น 3 ที่ระยะ 500 เมตรพอดี พื้นที่ลู่วิ่ง

นี้ยังสามารถตอบสนองต่อกิจกรรมหมุนเวียนอื่น ๆ ได้อีก

เช่น การจัดแสดง Art Gallery เพราะพื้นที่ส่วนนี้จะทำาให้

ผู้ใช้สอยพื้นที่สัมผัสกับมุมมองใหม่ ๆ ที่มองไปยังส่วนโถง

หลักด้านในของตัวอาคาร ไปพร้อมกับได้มุมมองภายนอก

ฝั่งถนน Recto ไปด้วย ในขณะที่พื้นที่ใช้สอยของส่วน

ร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม (F&B) ถูกออกแบบด้วย

กล่องกระจกเชื่อมกันด้วยพื้นที่โถงและพื้นที่สัญจรของ

อาคาร และพื้นที่ชั้นบนสุดถูกออกแบบให้เป็นส่วนของ

Roof Desk สำาหรับการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง โดยมีจุด

เด่นที่สำาคัญคือการออกแบบคันดิน เพื่อตั้งใจให้เกิดการ

กำาหนดมุมมองแก่ผู้ใช้สอยพื้นที่ให้เห็นเส้นขอบฟ้าของ

กรุงมะนิลา โดยมีรายละเอียดในการปลูกต้นคุณนายตื่น

สายเอาไว้ เพื่อให้ลูกค้าที่มารับประทานอาหารในพื้นที่ส่วน

นี้ได้เห็นดอกไม้บานพอดี

Along the southern edge, parallel to Recto Street,

a dedicated jogging track introduces a dynamic,

elevated route through the building. Engineered

with a carefully calibrated incline, the track

extends from the first floor and culminates on

the third floor at a precise 500-meter distance.

Beyond its primary function, the track also serves

as a flexible space for rotating exhibitions, such

as art gallery showcases, offering users shifting

perspectives—both inward, toward the central

atrium, and outward, framing the urban landscape

of Recto Street. The food and beverage (F&B)

spaces are articulated as a series of interlinked

glass volumes, connected through the building’s

circulation and communal areas. Crowning the

structure, the rooftop is envisioned as 'Roof Desk,'

an open-air venue for hosting outdoor events. A

defining feature of this space is the integration of

an earth berm, strategically positioned to frame

unobstructed views of Manila’s skyline. To enhance

this experience, Common Purslane flowers have

been planted throughout, timed to bloom at just

the right moment for guests enjoying brunch in

this elevated setting.

7


THE CORNER HOUSE

49

10 8


50

theme / review

9

“เมื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมเสร็จสิ้น นำาไปสู่การ

วิเคราะห์งานโครงสร้างอาคาร เราจะให้วิศวกรไทยคำานวณ

ก่อน แล้วค่อยส่งให้กับทางวิศวกรที่ฟิลิปปินส์คำานวณ

เพราะที่นั่นเขาจะมีการคำานวณเผื่อเรื่องการต้านทาน

แผ่นดินไหว ส่งผลให้ต้องใช้โครงสร้างเหล็กที่หนามากขึ้น”

คุณอมตะ กล่าวเสริมถึงเงื่อนไขด้านสภาพแวดล้อมที่ส่งผล

ต่อการออกแบบโครงสร้าง รวมไปจนถึงข้อจำากัดด้านการ

จัดหาวัสดุที่มีผู้จัดจำาหน่าย (Supplier) ที่ค่อนข้างมีจำากัด

กว่าในประเทศไทย ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ออกแบบต้องรับมือและ

ปรับเปลี่ยนตลอดการดำาเนินงานระหว่างประเทศ

“Once the architectural design was finalized, the

structural analysis phase began. Our approach

was to have Thai engineers conduct the initial

calculations before passing them on to our counterparts

in the Philippines,” explains Amata, highlighting

the environmental factors that influenced

the structural design. “Structural requirements

in the Philippines necessitate additional calculations

for earthquake resistance, which in turn call

for significantly thicker steel members.” Material

availability posed a key challenge that required

careful consideration. Compared to Thailand, the

Philippines offered a more limited selection of

suppliers, necessitating continuous adaptation

and recalibration of material choices throughout

the construction process.

9

ภาพ isometric ของ

โครงการ


ด้วยเงื่อนไขของสภาพภูมิอากาศของประเทศฟิลิปปินส์

ที่ต้องเผชิญกับลมมรสุมอยู่บ่อยครั้ง ส่งผลต่อการพัฒนา

รูปแบบของผิวอาคาร “ที่สามารถหายใจได้” (Breathable

Skin) กล่าวคือ มีรูปแบบของผนัง 2 รูปแบบคือ Fixed Panel

กับ Openable Panel โดยในส่วนของ Fixed Panel จะแบ่ง

ออกเป็นผนังผ้า (Fabric Panel) กับบานเกล็ดอะลูมิเนียม

(Aluminum Louver) ที่สามารถกดปุ่มควบคุมองศาของ

แนวระแนงได้ ทำาให้มิติของผนังอาคารสามารถปรับได้

เป็น 3 รูปแบบคือ เปิดโล่ง – ปิดแบบกึ่งเปิดโล่ง – ปิดเพื่อ

ปกป้อง ในขณะที่งานออกแบบไฟ (Lighting Design) ตัว

อาคารได้รับการออกแบบจาก คุณนพพร สกุลวิจิตร์สินธุ

จาก Accent Studio โดยออกแบบให้ส่วนของพื้นที่เส้น

ทาง Jogging Track แตกต่างออกจากส่วนอาคารหลักเพื่อ

สร้างมิติทางสถาปัตยกรรม นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นอีกจุดที่

สำาคัญคือ การวางตำาแหน่งของกล่อง Skylight ช่องเปิด

กระจกที่เคลือบ Dichroic Film เข้ากับกระจก Laminate

บริเวณ Roof Desk ที่จะดึงแสง Spectrum ผ่านไปเป็นเงา

ของย่านสีที่แตกต่างกันตามองศาของการมอง ในขณะที่

ตัวกล่อง Skylight ก็ทำาหน้าที่เป็นเฟอร์นิเจอร์สำาหรับวาง

เครื่องดื่มไปในตัว

“เราต้องการพิสูจน์ให้เห็นว่า สถาปัตยกรรมที่สร้างในพื้นที่

เขตร้อนชื้น ไม่ว่าจะเป็นที่ประเทศไทย หรือที่ฟิลิปปินส์

ภายใต้เงื่อนไขของสภาพภูมิอากาศแบบนี้ เราสามารถ

ออกแบบสถาปัตยกรรมที่ไม่จำาเป็นต้องติดแอร์เต็มระบบ

ก็ได้ ซึ่งก็พิสูจน์แล้วว่าประสบความสำาเร็จ ทุก ๆ คนมี

ความสุขกับการใช้สอยพื้นที่ที่โปร่ง สบาย รับอากาศธรรมชาติ

แบบนี้” คุณอมตะ หลูไพบูลย์กล่าวทิ้งท้ายถึงความพยายาม

ในการออกแบบศูนย์การค้าที่ให้ความสำาคัญกับการระบาย

อากาศด้วยวิธีธรรมชาติในพื้นที่ห้างสรรพสินค้า อันเป็น

จุดเด่นที่สำาคัญจุดหนึ่งของโครงการแห่งนี้

THE CORNER HOUSE

10

The region’s climatic conditions—particularly the

frequent monsoon winds—shaped the development

of the building’s breathable skin. The façade is

articulated through two distinct panel types:

Fixed Panels and Openable Panels. The Fixed

Panels are further divided into Fabric Panels and

Louvered Aluminum Panels, the latter featuring

an adjustable slat system controlled via a

push-button mechanism. This flexibility allows

for three distinct spatial conditions: fully open,

semi-open, and fully closed offering weather

protection. Lighting design, led by Nopporn

Sakulwigitsinthu of Accent Studio, was conceived

with the illumination strategy that deliberately

distinguishes the jogging track from the main

structure, introducing an additional architectural

dimension as a result. Another defining feature

is the integration of Skylight glass boxes on the

Roof Deck, where Dichroic Film-coated laminated

glass refracts spectral light, casting shifting color

gradients that change with the viewer’s perspective.

Beyond their visual impact, these glass boxes

also serve a functional role, doubling as built-in

surfaces for placing drinks.

“We wanted to demonstrate that architecture in

a tropical climate—whether in Thailand or the

Philippines—does not inherently require a fully

air-conditioned environment. Within these conditions,

it is entirely possible to create spaces that

remain comfortable and well-ventilated through

passive strategies. The project stands as proof of

this concept—everyone enjoys using these open,

airy spaces that embrace natural airflow,” says

Amata Luphaiboon, underscoring the project’s

commitment to integrating passive cooling strategies

into a retail environment, a defining feature of

this development.

10

ภาพ isometric ของ

โครงการ

51

11

ภาพตัดของอาคาร แสดง

ให้เห็นการเชื่อมต่อระหว่าง

พื้นที่ด้านหน้ากับพื้นที่

ส่วนกลางที่เชื่อมกันด้วย

โถงบันได

11


52

theme / review

“We wanted to demonstrate that architecture in a tropical

climate—whether in Thailand or the Philippines—does not

inherently require a fully air-conditioned environment”.

แม้ต้องเผชิญกับเงื่อนไขและความท้าทายที่แตกต่างทั้ง

ในด้านกฎหมาย กายภาพ ภูมิอากาศ วัฒนธรรม และ

ข้อจำากัดทางเทคนิคการก่อสร้าง แต่โครงการ The Corner

House ยังสามารถถ่ายทอดปรัชญาการออกแบบที่เหมาะ

สมกับสภาพภูมิอากาศเขตร้อนชื้นได้อย่างลงตัว นับเป็น

ประสบการณ์ที่ไม่เพียงสะท้อนถึงศักยภาพของสถาปนิก

ไทยในเวทีสากล แต่ยังเป็นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ที่

สามารถนำากลับมาประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับคุณภาพและ

มาตรฐานของวงการสถาปัตยกรรมไทยยิ่งขึ้นในอนาคต

Despite the complexities of working across borders

—with variations in regulations, site conditions,

climate, cultural contexts, and technical construction

constraints—The Corner House successfully

embodies a design philosophy tailored to the

realities of the tropical climate. The project not

only highlights the capability of Thai architects on

the international stage but also fosters a valuable

exchange of knowledge, one that can be reinterpreted

and applied to elevate the quality and

standards of Thai architecture in the future.

12

พื้นที่ลานกิจกรรมใน

อาคาร รองรับกิจกรรม

ต่าง ๆ ที่จัดขึ้นในส่วน

พื้นที่อเนกประสงค์ของ

โครงการ

13

ส่วนระเบียงและผนัง

กระจกถูกยึดบนเฟรม

โครงสร้างเหล็กสีขาว

12

Project Name: the Corner House Client: Emerald Rich Property Inc. Location: San Juan, Manila, the Philippines Architecture Firm: Department of Architecture Co., Ltd

Principal Architect: Amata Luphaiboon Local Architect: BAAD Studio Civil & Structural Engineer: David Carl H. Reyes Structural Design Consultancy Mechanical Engineers:

Komfort-Aire, Incorporated; S&H Electrical Construction Corporation Landscape Architect: Clarq Landscape Design Studio Main Contractor: Megawide Construction Corporation

Land Area: 4,200 square metres Building Area: 16,100 square metres Building Height: 25 metres Completion: November 2023


THE CORNER HOUSE

53

13


54

theme / review

THAILAND PAVILION -

EXPO 2025, OSAKA,

KANSAI, JAPAN

OSAKA, JAPAN

RMA110 (RIGHT MAN + A110 )

ARCHITECTS 49

TOKUOKA SEKKEI

2025

เวิลด์เอ็กซ์โป (World Expo) จัดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2394 ณ

กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ด้วยจุดมุ่งหมายให้เกิดการแลกเปลี ่ยน

ความรู้ ความร่วมมือ และการแสดงศักยภาพของประเทศต่าง ๆ โดยทาง

ประเทศไทยได้เข้าร่วมงาน World Expo ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2405 ที่

กรุงลอนดอน และเวิลด์เอ็กซ์โป ในรอบล่าสุดคือปี พ.ศ. 2568 ได้จัด

ขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่น บนเกาะยุเมะชิมะ จังหวัดโอซากะ ความน่าตื่นตา

ตื่นใจของการจัดงานเวิลด์เอ็กซ์โปสำาหรับวงการสถาปัตยกรรมคือ

อาคารพาวิลเลียนที่แข่งกันออกแบบโดยสำานักงานสถาปนิกชั้นนำาของ

โลก หรือระดับชั้นนำาของแต่ละประเทศ ที่นำาเสนอวิสัยทัศน์ของประเทศ

ตนเองสู่ความร่วมสมัยอย่างไร

The World Expo, first held in 1851 in London, United Kingdom,

was conceived as a platform for global knowledge exchange,

international collaboration, and the showcasing of national

achievements. Thailand’s participation in the Expo dates back

to 1862, when it first presented its cultural and technological

advancements on the world stage. The upcoming 2025 edition

of the World Expo will take place on Yumeshima Island in

Osaka, Japan, promising yet another spectacle of innovation

and architectural expression. For the architectural community,

the World Expo is an unparalleled stage for design discourse,

where the world’s leading architectural firms—or the most

distinguished practices from each participating country—

compete to translate national narratives into built form, crafting

national pavilions that become statements of identity, vision,

and contemporary relevance.

Text: Xaroj Phrawong

Photo Credits: Architects 49 Limited


1

1

มุมมองจากทางเข้าหลัก

จั่วผ่าครึ่งถูกสะท้อนบนผืน

กระจกเป็นจั่วเต็มผืน


56

theme / review

2

3

2

ภาพแรงดาลใจจากหลังคา

ประเพณีสู่การสร้าง

ลวดลายไทยร่วมสมัย

3

ภาพที่ตั้งของอาคารพาวิล

เลียนของประเทศไทย

4

ภาพมุมสูง

พาวิลเลียนจากประเทศไทยในครั้งนี้ ออกแบบโดย

บริษัท สถาปนิก 49 จำากัด จากโจทย์ว่าด้วยการสร้าง

สถาปัตยกรรมที่บอกเรื่องราวของประเทศไทยเป็น

ศูนย์กลางด้านสุขภาพด้วยคำาว่า ‘ภูมิพิมาน’ เนื้อหาภายใน

เป็นนิทรรศการว่าด้วยความเป็นไทยจากวิถีชีวิต อาหารการ

กิน สมุนไพรไทย ที่ตั้งของกลุ่มอาคารพาวิลเลียนอยู่ในทาง

เดินหลักเป็นรูปวงกลมสร้างจากไม้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง

ขนาด 700 เมตร ในส่วนของประเทศไทยอยู่ทางทิศเหนือ

ของทางเดินวงแหวน ที่ตั้งจึงมีทางเข้าหลักจากทิศเหนือ

ฝั่งทิศใต้หันหลังให้กับป่าซึ่งเป็นศูนย์กลางของวงแหวน

ตัวที่ดินมีขนาด 30 x 120 เมตร หลังจากหักระยะร่น

ตามกฎหมายอาคารท้องถิ่นแล้ว สามารถก่อสร้างอาคาร

ได้ 2,912 ตารางเมตร จากเงื่อนไขเรื่องที่ดินมีลักษณะแคบ

ยาว ทำาให้การจัดวางการใช้สอยแต่ละส่วนนิทรรศการอยู่

ในลักษณะเชิงเส้น (linear) แกนเส้นทางสัญจรวางยาวไป

ตามรูปที่ดินแล้วมีแต่ละส่วนใช้สอยเข้ามาเกาะกับแกนเส้นนี ้

Thailand’s pavilion for Expo 2025 is designed by

Architects 49 Limited, responding to a curatorial

prompt that frames the country as a global hub for

health and well-being under the thematic concept

of Bhumi Vimana— diverse facets of Thai wisdom

across various branches (Bhumi). The pavilion’s

exhibition content is designed as an immersive

journey into Thai identity, drawing from vernacular

wisdom, traditional herbal medicine, gastronomy,

and everyday rituals. The pavilion is positioned

along the Expo’s main circulation loop which spans

700 meters in diameter and is constructed primarily

from wood. Thailand’s pavilion is positioned in the

northern section of this ring, with its main entrance

facing north, and its southern side adjacent to a central

forested area that serves as the heart of the ring.

The allocated plot measures 30 by 120 meters, with

a total buildable area of 2,912 square meters after

factoring in local zoning setbacks. The elongated

proportions of the site form a linear spatial arrangement,

with exhibition zones aligned along a central

circulation spine, each programmatic element

branching off this axis to create a seamless,

processional experience.

4


THAILAND PAVILION - EXPO 2025, OSAKA, KANSAI, JAPAN

57

5

แสดงแนวคิดการสร้าง

หน้าจั่วจากการสะท้อนผืน

กระจก

6

เส้นสายจอมแห เจดีย์

สู่การสร้างรูปทรงหลัก

เช่นเดียวกับทุกครั้งที่พาวิลเลียนจากประเทศไทยเน้นการ

ตีความตามแต่ผู้ออกแบบ ในครั้งนี้การตีความหลักมาจาก

2 ประเด็นของเทคนิคการก่อรูปสถาปัตยกรรมไทยประเพณี

คือ การใช้เส้นกำากับรูปทรงแบบจอมแห ที่มีสัดส่วนให้

สถาปัตยกรรมไทยมีรูปทรงที่ดูชะลูดสูงระหง และการใช้การ

ย่อมุม เพื่อลดความกระด้าง บึกบึนของรูปทรง การขึ้นรูปใช้

หลังคาเป็นจุดเด่นตามแบบสถาปัตยกรรมไทยที่โดดเด่นด้วย

หลังคา และสร้างการเข้าถึงทางสายตาของพาวิลเลียน แต่

ด้วยลักษณะรูปที่ดินหน้าแคบ ทำ าให้ไม่สามารถใส่จั่วครอบลง

ไปทั้งงานได้ สถาปนิกจึงเลือกใช้วิธีการลวงตาด้วยการสร้าง

อาคารส่วนบริการซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกให้เป็นระนาบ

ผืนใหญ่ยาวขนานไปกับที่ดิน จากนั้นกรุด้วยกระจกทั้ง

ผืนระนาบ ให้ทำาหน้าที่สะท้อนหลังคาที่ได้แรงบันดาลใจจาก

เส้นจอมแหที่เป็นจั่วครึ่งเดียว เกิดภาพลวงตาตรงจุดทางเข้า

ให้กลายเป็นหลังคาจั่วด้านสกัดแบบเต็ม หลังคาจั่วผ่าครึ่งทำ า

หน้าที่คลุมส่วนนิทรรศการทั้งหมด แต่ไม่เป็นลักษณะโค้ง

2 มิติ เป็นการโค้งแบบ 3 มิติที่นูน-ยุบขึ้นลงตามการใช้สอย

แต่ละส่วน เมื่อพิจารณาถึงมวลอาคารที่มีหลังคาผืนใหญ่

วิธีที่สถาปนิกเลือกใช้คือการลดสัดส่วนด้วยการลวงตาแบบ

ที่นิยมใช้ในสถาปัตยกรรมไทยประเพณี เช่น การใช้ย่อมุม

แบบต่าง ๆ ที่เจดีย์ หรือเสา ผืนหลังคาชั้นบนถูกกรุทับด้วย

หลังคาเหล็กรีดลอนด้วยรูปลอนที่พบได้ทั่วไป แต่ตัดแบ่งให้เป็น

แผ่นย่อย ไม่ปูหลังคาด้วยแผ่นเหล็กรีดลอนแบบผืนเดียวคลุม

ทั้งผืน หลังคาแต่ละแผ่นย่อยถูกวางให้ล้อไปกับความสูงต่ำา

ของแต่ละส่วนใช้สอย ทำาให้เกิดความเคลื่อนไหวจากมุมมอง

ต่าง ๆ พร้อมไปกับทำาให้มีมิติที่ลึกขึ้นจากเงาของคลื่นลอน

ก่อให้เกิดการรับรู้รูปทรงด้วยการบิดเบือนจากขนาดใหญ่ให้

ดูเล็กลงได้

5

As with every iteration of Thailand’s participation in

the World Expo, the pavilion’s architectural interpretation

is shaped by the vision of its designers. For

the 2025 edition, the concept is anchored in two

fundamental principles of traditional Thai formmaking:

the chom hae line—characterized by a distinctive

parabolic curve reminiscent of a fishing net

suspended to dry. This line has long been a defining

feature of Thai architecture, adding verticality and

an ethereal lightness to structures; and recessed

corners, a technique commonly found in pagodas

and columns, which serves to soften the structure’s

overall mass and refine its silhouette. True to the

spatial hierarchy of Thai architecture, the roof

takes precedence as the pavilion’s most prominent

element, both visually and functionally. However,

the constraints of the site—a narrow, elongated

plot—precluded the possibility of a fully expressed

gable. Instead, the architects devised a perceptual

sleight of hand: a service building along the western

edge was conceived as a continuous, reflective

glass plane, mirroring the silhouette of a half-gable

roof inspired by the chom hae curve. This subtle yet

precise intervention creates the illusion of a fully

formed gable upon approaching the entrance. Beneath

this optical construct, the main exhibition hall

is housed within a dynamic roofscape that eschews

a conventional two-dimensional arc in favor of a

three-dimensional, undulating surface, rising and

falling in response to the internal program. Given its

substantial scale, the architects turned to traditional

Thai architectural strategies to dissolve its visual

weight. Much like the recessed corner technique

used in historic stupas and columns to reduce perceived

bulk, the roof is articulated through modular

segmentation. Instead of a singular, monolithic

expanse of corrugated metal, the material is divided

into smaller panels. These panels follow the roof’s

varying heights, creating a dynamic interplay of

light and shadow that lends depth and movement

to the structure, subverting the perception of scale

and reducing the apparent size of the roof through

strategic distortion.

6


58

theme / review

These panels follow the

roof’s varying heights,

creating a dynamic interplay

of light and shadow

that lends depth and movement

to the structure.

From an exterior reading of its form, the pavilion’s

dominant materials are glass and gold-painted

corrugated metal roofing. The roof serves as the

primary emphasis element, while the reflective glass

at the rear acts as the dominant visual component,

ultimately defining the pavilion’s presence.

7-8

หลังคาเหล็กรีดลอน

เตรียมมาจากโรงงานที่

เมืองไทย ก่อนนำาไปติด

ตั้งด้วยขาเหล็กพร้อมตัด

หน้างานยึดบนแผ่นไม้อัด

เมื่ออ่านดูจากรูปทรงภายนอก วัสดุหลักที่ปรากฏชัดคือ

กระจก และหลังคาเหล็กรีดลอนทำาสีทอง โดยหลังคาทำา

หน้าที่เป็นตัวเด่น (emphasis) และกระจกด้านหลังทำ าหน้าที่

เป็นตัวเน้น (dominant) ให้กับพาวิลเลียนนี้ในที่สุด

เมื่อเป็นการก่อสร้างในต่างแดน การประสานงานกับทีมงาน

ท้องถิ่นเป็นเรื่องสำาคัญ เพราะให้คำาปรึกษาได้ทั้งในเรื่อง

การออกแบบ และการก่อสร้างที่ซับซ้อนได้ งานนี้ได้

Tokuoka Sekkei LTD. เป็น local architect ช่วยประสาน

งาน กระบวนการก่อสร้างแบ่งได้ออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วน

ที่ทำาการก่อสร้างที่ญี่ปุ่น และการก่อสร้างที่นำามาจากไทย

การก่อสร้างส่วนหลักจะเป็นการทำาหน้างานในส่วนโครงสร้าง

ตั้งแต่การหล่อพื้นคอนกรีตเป็นลักษณะแผ่คลุมส่วนพื้น

อาคาร จากนั้นจึงวางฐานรากเหล็กบนพื้นแผ่ แล้วติดตั้ง

โครงสร้างเสาคานเหล็ก เนื่องจากเงื่อนไขที่เป็นอาคาร

ชั่วคราว วัสดุและเทคนิคก่อสร้างต้องคิดถึงการรื้อถอนให้

สะดวก ไม่มีการทิ้งวัสดุในพื้นที่หน้างาน เมื่อการก่อสร้าง

ส่วนโครงสร้างเสร็จ จึงเป็นขั้นตอนการหุ้มที่มีแผ่นไม้อัด จาก

นั้นกรุทับด้วยแผ่นเมมเบรน ทั้งส่วนผนังอาคารบริการ และ

หลังคาตามกฎหมายอาคารของญี่ปุ่น ด้วยเหตุผลของ

งบประมาณทำาให้วัสดุและการก่อสร้างส่วนหุ้มอาคารต้องทำ า

จากไทย การก่อสร้างที่เตรียมจากไทยคือการเตรียมกระจก

ที่นำาไปกรุก้อนอาคารบริการ และการเตรียมหลังคาเหล็กรีด

ลอน การตัด พับ ทำาจากโรงงานที่ไทย โดยทำาเป็นส่วนที่ซ้ำา

กันไป การติดตั้งหลังคาจำานวนมากใช้วิธีติดตั้งด้วยขาเหล็ก

พร้อมตัดหน้างานยึดบนแผ่นไม้อัด แผ่นหลังคาถูกจัดเตรียม

จากไทยกว่า 3,568 ชิ้น ในความยาวแตกต่างกันตั้งแต่

1.20-1.80 เมตร ขนาดที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับความสูง-

ต่ำาของหลังคา ทั้งหมดทำาการปูหลังคาด้วยการใช้แรงงาน

3 คน ในเวลาไม่กี่สัปดาห์

7

Constructing a project abroad requires seamless

coordination with local teams, as they provide

critical insight into both design and complex

construction processes. For this pavilion, Tokuoka

Sekkei LTD. served as the local architect, facilitating

collaboration throughout the project. The construction

process was divided into two parts: on-site construction

in Japan and prefabricated components

manufactured in Thailand. The primary structural

work was carried out on-site in Japan, beginning

with the casting of a continuous concrete slab

foundation. A steel base was then installed atop

this slab, followed by the assembly of the structural

steel columns and beams. Given that the pavilion is

a temporary structure, both materials and construction

techniques were carefully considered to allow

for efficient dismantling, ensuring no material waste

was left on-site. Once the structural framework

was completed, plywood sheathing was applied,

followed by a membrane cladding system to meet

Japan’s building regulations. Budget constraints dictated

that the cladding materials and fabrication of

certain components be sourced from Thailand. This

included the glass panels for the service building

façade as well as the gold-painted corrugated metal

roofing. The roofing panels were pre-cut and folded

in a Thai factory, with identical sections produced

for efficiency. Given the large number of roof panels

required, installation was carried out using steel

mounting brackets, with on-site adjustments made

to secure them onto the plywood substructure.

Over 3,568 individual panels were prefabricated

in Thailand, with varying lengths ranging from 1.20 to

1.80 meters, corresponding to the roof’s fluctuating

elevations. The entire roofing installation was

completed by a team of just three workers within a

matter of weeks.


THAILAND PAVILION - EXPO 2025, OSAKA, KANSAI, JAPAN

59

8


60

theme / review

9 10

ในการก่อสร้างที่ญี่ปุ่น ดร.ณรงค์วิทย์ อารีมิตร Executive

Director บริษัท A49 ได้พูดถึงในประเด็นนี้ไว้ว่า “การ

ประสานงานกันระหว่างทีมไทยกับญี่ปุ่นยังรวมไปถึงการ

ออกแบบโครงสร้าง เราใช้วิศวกรทางนั้นช่วยเยอะมาก ทั้งเรื่อง

กฎหมาย เรื่องแผ่นดินไหว หรือไม่ว่าจะเป็นตอนหน้างานที่

มีการทรุดตัวของเกาะประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาอย่างกรณีสนาม

บินคันไซ ทางญี่ปุ่นก็มีเทคโนโลยีมาเสนอ และประสานกับ

ทางการเมืองโอซากะ รวมไปถึงการลามไฟที่ใช้งานได้ใน

ญี่ปุ่น”

โครงการออกแบบงานพาวิลเลียนในงานเวิลด์เอ็กซ์โป

แต่ละครั้ง มักจุดประเด็นถกเถียงเสมอมาทั้งจากวงวิชาการ

และวิชาชีพ ในเรื่องการตีความ “ความเป็นไทย” ในงาน

สถาปัตยกรรมท่ามกลางกระแสหลักจากตะวันตก คำาถามถึง

แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมในฐานะตัวแทนของ

ประเทศไทยที่ควรจะเป็นในวาระต่าง ๆ และคำาตอบก็ได้ถูก

นำาเสนอผ่านวิธีและกระบวนการต่าง ๆ ให้สังคมเราได้ตั้ง

ข้อสังเกต แล้วเลือกพิจารณาถึงคำาตอบที่ควรจะเป็นของใน

แต่ละบริบท ในความเป็นไทยร่วมสมัยมากกว่าเพียงการ

ลอกเลียนอดีต

11

For the architectural

community, the World

Expo is an unparalleled

stage for design discourse.

In discussing the construction process in Japan,

Dr. Narongwit Areemit, Executive Director of Architects

49 (A49), highlighted the critical role of collaboration

between the Thai and Japanese teams:

"Coordination between the Thai and Japanese

teams extended to structural design as well.

We relied heavily on local engineers, particularly

regarding legal regulations, seismic considerations,

and on-site challenges such as the settling of

artificial islands—an issue seen in projects like

Kansai Airport. The Japanese team introduced

advanced technologies to address these concerns

and facilitated discussions with the Osaka municipal

authorities. Fire-resistant materials that comply with

Japanese regulations were also a key consideration."

World Expo pavilions have long been sites of

discourse within both academic and professional

circles, continuously reigniting debates on the interpretation

of Thainess in architecture amid dominant

Western influences. Questions surrounding how

Thai architecture should represent the nation on

the global stage—and in what form—reoccurs

with each edition. The answers, however, are never

singular; they manifest through evolving methodologies

and design processes, prompting society to

observe, critique, and ultimately redefine Thainess

within a contemporary context, moving beyond mere

replication of the past.

9-11

บอกเรื่องราวของ

ประเทศไทยเป็น

ศูนย์กลางด้านสุขภาพ

ด้วยคําว่า ‘ภูมิพิมาน’

เนื้อหาภายในเป็น

นิทรรศการว่าด้วยความ

เป็นไทยจากวิถีชีวิต

อาหารการกิน สมุนไพร

ไทย

Project Name: Thailand Pavilion - Expo 2025, Osaka, Kansai, Japan Location: Yumeshimahigashi (Osaka Bay), Konohana-ku, Osaka, Japan Area: 1500 sq.m Project Team:

1. RMA110 [Rightman + A110 ] 2. Architects 49 Limited 3. Tokuoka Sekkei LTD. Photo Credits: Architects 49 Limited


THAILAND PAVILION - EXPO 2025

12

12

เมื่ออ่านดูจากรูปทรง

ภายนอก วัสดุหลักที่

ปรากฏชัดคือ กระจกที่

เป็นตัวเน้น และหลังคา

เหล็กรีดลอนทําสีทองที่

ทำาหน้าที่เป็นตัวเด่นให้

กับพาวิลเลียน


62

professional

WITH OVER FOUR DECADES OF

EXPERIENCE ACROSS COUNTRIES

LIKE CHINA, VIETNAM, THE

MALDIVES, AND OTHERS, HABITA

ARCHITECTS IS WIDELY KNOWN

FOR HOTEL AND RESORT DESIGN

THAT PRIORITIZES THOUGHTFUL,

CONTEXT-SENSITIVE DESIGN, IN-

TEGRATING CULTURAL INSIGHTS,

CONSERVATION EFFORTS, AND

CONTEMPORARY AESTHETICS.

HABITA

ARCHITECTS

BANGKOK

Text: Surawit Boonjoo

Photo Courtesy of Habita Architects


63

1

1

Six Senses Bumthang

ที่ภูฏาน


64

professional

2 3

2

กฤษฎา โรจนกร ผู้ก่อตั้ง

Habita Architects

3

ทีมงาน Habita Architects

กลุ่่มสถาปัั ตยกรรมที่่ผสมกลุ่มกลุ่ืนไปก ับภููมิที่ัศน์

ธรรมชาติ โดยรอบ แตก็มากด้วยฟัั งก์ชันการใช้งาน

อั นครบครัน ซุุกซ่่อนภูายใต้รูปัลุ่ักษณ์์อาคารที่่ดูอาจจะ

กลุ่มกลุ่ืนกันตลุ่อดทั้้งโครงการ ซุ่งมักนำาเสนอด้วยลุู่กเลุ่น

การต่ความสถาปัั ตยกรรมพื้้นถิน ตอยอดให้้ตางออกจาก

ความดังเดิมแลุ่ะม่เอกภูาพื้รวมเป็็ นไปก ับบริบที่แวดลุ่้อม น่

อาจเป็็ นนิยามของแนวที่างการสร้างสรรค์สถาปัั ตยกรรม

ของ Habita Architects เราได้ม่โอกาสพืู้ ดค่ยกับ พื้ิสิษฐ

สายัมพื้ลุ่ กรรมการผู้จัดการ แลุ่ะดิเรก วงค์พื้นิตกฤต

Associate Partner ซุ่ งทั้้งสองได้นำาให้้เราได้พื้ิจารณ์า

อยางคอยเป็็ นคอยไปั เร่ยนรู้ผานปัระสบการณ์์การ

ออกแบบอาคารทั้้งในปัระเที่ศแลุ่ะในตางปัระเที่ศที่่สังสม

มามากกวาส่ที่ศวรรษ ทั้้งตร่กตรองคิดรวมไปก ับความ

เห็็นของทั้้งสองที่่อาจจะนำาไปัสูการได้รับโอกาสในการ

ที่ำางานตางปัระเที่ศไปัพื้ร้อมกัน

“Habita Architects ก่่อตั้้งขึ้้ นตั้้งแตั้่ปีี พ.ศ. 2523

โดย ก่ฤษฎา โรจนก่ร ศิลปิิ นแห่่งชาตั้ิปีระจำาปีี 2558

สาขึ้าทััศนศิลป์์ (สถาปัั ตั้ยก่รรม) ปีี น้ก็็เขึ้้าส่ปีี ทั้ 44

ขึ้องเรา โครงก่ารในช่วงแรก่ ๆ ขึ้องเรา เป็็ นก่าร

ทำำางานออก่แบบค่ายพำาน้ก่ผู้่้ล้ภััย และงานอนุร้ก่ษ์

สถาปัั ตั้ยก่รรม ก่่อนจะเริมตั้้นทำำางานออก่แบบโรงแรม

ทั้ภููเก็็ตั้ ซึ่่ งเป็็ นผู้ลงานออก่แบบสถาปัั ตั้ยก่รรมโรงแรม

โครงก่ารแรก่ขึ้องเรา อย่างไรก็็ตั้ามในช่วงแรก่

เริมน้น เราไม่เพ้ยงมุ่งพ้ฒนางานออก่แบบอาคารเฉพาะ

ปีระเภัทัโรงแรมเท่่าน้น แตั้่เราย้งให้้ความสนใจใน

ก่ารทำำางานอนุร้ก่ษ์ด้วยเช่นกััน อย่างในคร้งทั้ผู้ม

เริมตั้้นเขึ้้ามาร่วมงาน หล ังจากที่่ออฟฟิ ศได้เปิิ ดทำำา

ก่ารไปีราว 3-4 ปีี โครงก่ารแรกที่่ผู้มได้ม้ส่วนร่วม

ก็็คือ สถาบ้นเก่อเธ่่ ปีระเทัศไทัย” (พิสิษฐ)

แม้ผลุ่งานออกแบบของออฟัฟัิ ศแห่่งน่จะปัรากฏสูสายตา

หร ือเป็็ นที่่รับรู้ โดยทั่่วไปด ้วยสถาปัั ตยกรรมปัระเภูที่

โรงแรมแลุ่ะร่สอร์ต อยางไรก็ตามพื้ิสิษฐเน้นยำ ว ่า พื้วก

เขายังคงให้้ความสนใจในการที่ำางานปัระเภูที่อน่รักษ์

สถาปัั ตยกรรมอยูเสมอ รวมไปถ ึงงานปัระเภูที่อาคารที่่พื้ัก

อาศัยในบางครัง เขาเสริมตอวา แตระหว ่างชวง 20 ปีี ให้้

ห้ลุ่ัง พื้วกเขาก็พื้ยายามโฟก ัสไปก ับงานออกแบบโรงแรม

แลุ่ะร่สอร์ตโดยเฉพื้าะ แนนอนวา ในห้ลุ่ายโครงการนัน ก็

ยังคงกลิ่่นอายของที่ิศที่างการเก็บรักษา แลุ่ะถายที่อด

เนือห้าของอาคารเดิมภูายในพื้้นที่่ที่ามกลุ่างบริบที่อาคาร

ที่่ปร ับเปัลุ่่ยน ทั้้งในแงการอน่รักษ์หร ือนำามาพื้ิจารณ์า

ต่ความ แลุ่ะพื้ัฒนาตอให้้เป็็ นความรวมสมัย

ปัั จจ่บันออฟัฟัิ ศขนาดไมเลุ่็กแลุ่ะไมให้ญ่น่ ดำาเนินการ

ออกแบบแลุ่ะขับเคลื่่อนโดยสถาปน ิกราว 20 คน ที่่เปิิ ด

โอกาสให้้ที่่กคนได้ม่สวนรวมเสนอความคิดในการออกแบบ

ในแตลุ่ะโครงการ โดยสถาปน ิกแตลุ่ะคนจะม่เวลุ่าราวห้น่ง

สัปัดาห์์ ในการห้าแนวคิดสวนตัว กอนนำามาพื้ิจารณ์าแลุ่ะ

แลุ่กเปัลุ่่ยนความคิดเห็็นกัน จะเห็็นได้วา พื้วกเขาพื้ยายาม

สงเสริมให้้เกิดบรรยากาศการออกแบบอยางสร้างสรรค์ที่่

เปิิ ดกว้าง พื้ร้อมตอบรับไปก ับที่่กการสำารวจห้าความเป็็ นไปั

ได้อันสดใหม ่อยูเสมอ แตในขณ์ะเด่ยวกัน พื้วกเขายังคง

คำน ึงถ่งรูปัแบบที่ิศที่างการที่ำางานแบบเฉพื้าะตัวเชนกัน

อยางในชวงแรกที่่พื้วกเขาม่งสนใจเพื้่ยงถายที่อดนำาเสนอ

งานออกแบบสถาปัั ตยกรรมเขตร้อนชืน (เพื้ราะชวงขณ์ะ

ดังกลุ่าวยังม่งานแคในภููมิภูาคเขตร้อนชืน) หร ืองาน

อน่รักษ์เพื้่ยงเที่านัน ตอมาในภูายห้ลุ่ังจากการม่สวนรวม

ของนักออกแบบร่นใหม ่ในออฟัฟัิ ศมากยิงข่น ปัระกอบกับ

กลุ่่มลุู่กค้าที่่เป็็ นคนร่นใหม ่ ความสนใจแลุ่ะแนวที่างของ

พื้วกเขาจ่งม่การปร ับเปัลุ่่ยนให้้สอดคลุ่้องกับบริบที่แลุ่ะ

เนือห้าของงานที่่เปัลุ่่ยนไปั


HABITA ARCHITECTS

65

4

ทีมงาน Habita Architects

An architectural group that seamlessly blends

with the surrounding natural landscape, yet is

equipped with a full range of functional spaces,

hidden beneath a building appearance that may

appear harmonious throughout the entire project.

This design often incorporates playful interpretations

of local architecture, evolving beyond traditional

forms while maintaining a unified connection

with the surrounding context. This could be the

definition of the creative approach to architecture

by Habita Architects. We had the opportunity to

speak with Pisit Sayampol, Managing Director,

and Direk Wongpanitkrit, Associate Partner,

who guided us through their thoughtful process,

sharing their insights gained from over four

decades of experience in designing buildings

both domestically and internationally. Their

reflections and opinions may also lead to

opportunities for international work.

“HABITA ARCHITECTS WAS FOUNDED IN

1980 BY KRISDA ROCHANAKORN, THE

NATIONAL ARTIST OF 2015 IN THE FIELD

OF FINE ARTS (ARCHITECTURE). THIS

YEAR MARKS OUR 44TH YEAR. AT THE

BEGINNING, WE DID THE ARCHITECTURAL

DESIGN FOR REFUGEE CAMPS AND ARCHI-

TECTURAL CONSERVATION PROJECTS BE-

FORE WE HAD OUR FIRST HOTEL PROJECT

IN PHUKET. IN THE EARLY YEARS, WE DID

NOT FOCUS ONLY THE HOTEL AND RESORT

DESIGN BUT ALSO HAD OUR ATTENTION

TO THE CONSERVATION PROJECTS, FOR

EXAMPLE, THE FIRST PROJECT I PARTICI-

PATED IN AFTER JOINING HABITA ARCHI-

TECTS AROUND 3-4 YEARS AFTER ITS

OPENING WAS THE GOETHE INSTITUTE

IN THAILAND.” (PISIT)

Even later on Habita Architects are well known

for its architectural hotel and resort design,

they are always interested in architectural

conservation and occasionally residential

projects as well. Pisit added that the past 20

years, they have been focusing particularly on

hotel and resort design, however, there are

still an essence of conservation, as they aim

to preserve and convey the essence of original

buildings within new contexts, whether through

conservation, reinterpretation, or modernization.

Currently, this medium-sized office is run by

around 20 architects, giving everyone the

opportunity to contribute design ideas for each

project. Each architect has about a week to

develop their own concept before coming

together to discuss and exchange ideas. It's

clear that they encourage a creative atmosphere

where new possibilities are explored, while at

the same time maintaining a distinctive approach

to their work. For example, in the early years,

they focused on tropical climate architecture

(as they only had projects in tropical regions)

and conservation work. Later, as more young

designers joined the office, along with a new

generation of clients, their interests and approach

evolved to align with the changing context and

nature of their projects.

4


66

professional

“โครงก่ารส่วนให่ญ่่ทั้เราร้บผู้ิดชอบ ล่ก่ค้ามัักจะอ้างอิง

ถ้งงานออก่แบบโครงก่ารก่่อนหน ้าขึ้องเราเสมอ ว่า

พวก่เขึ้าสนใจหร ือปีระทัับใจในรููปแบบหร ือทิิศทัางก่าร

ออก่แบบโรงแรมแห่่งใดแห่่งห่น้ งขึ้องเรา จาก่น้นเรา

ก็็จะเริมทำำาความเขึ้้าใจในความตั้้องก่ารขึ้องล่ก่ค้า

ทำำาความเขึ้้าใจบริบทัขึ้องสถานทั้ในทุุกม ิตั้ิ เพือนำาเสนอ

แนวความคิดทั้เราคิดว่าเห่มาะกัับโครงก่าร แตั้่ถ้าห่าก่

ล่ก่ค้ามาด้วยความตั้้องก่ารแบบกว ้าง ๆ เราก็็จะมา

พ่ ดคุยปัั จจ้ยทั้ส่งผู้ลตั้่อสถาปัั ตั้ยก่รรมน้นในห่ลายด้าน

อย่างงานออก่แบบปีระเภทนี ้ภัายในปีระเทัศน้น ๆ เคยม้

ทีีมห่น้ งออก่แบบไว้เช่นไร หร ือรููปแบบอาคารปีระเภัทัน้

เห่มาะสมกัับสภัาพแวดล้อมขึ้องปีระเทัศด้งกล ่าว

อย่างไร เราก็็จะม้ทั้มทั้ด่แลโครงก่ารขึ้องปีระเทัศน้น ๆ

เช่น ทีีมทั้เคยด่แลงานในม้ลด้ฟส์ จาก่ปีระสบก่ารณ์์ทั้

เขึ้้าใจบริบทัขึ้องปีระเทัศน้น เขึ้้าใจในขึ้้อจำาก่้ดตั้่าง ๆ

ก็็จะด่แลโครงก่ารใหม ่ในม้ลด้ฟส์ทั้ตั้ิดตั้่อเขึ้้ามา เป็็ นตั้้น”

พิสิษฐอธิิบายขึ้ยายความถ้งก่ระบวนก่ารทำำางาน

Hospitality architecture outbound

“แนวทัางก่ารออก่แบบขึ้องพวก่เราในแตั้่ละโครงก่าร

น้น จะแปีรผู้้นไปีตั้ามขึ้้อจำาก่้ดขึ้องแตั้่ละเครือโรงแรม

แตั้่ละแบรนด์ก็็จะม้ทั้มนัักออก่แบบขึ้องแบรนด์ ทำำา

หน ้าทั้ตั้รวจสอบแบบขึ้องเรา เราก็็มัักจะได้ร้บความไว้

วางใจจากล ูกค ้าในก่ารทำำางานเสมอมาและตั้่อเนือง

อาจด้วยศัักยภัาพก่ารทำำางานได้อย่างเขึ้้าใจตั้รง

ความตั้้องก่าร ย้ดตั้ามก่รอบแนวทัางตั้ามทิิศทัาง

ขึ้องพวก่เขึ้า บางก่รณ์้ทั้ไม่ได้อ้างอิงกัับแบรนด์ เรา

ก็็จะตั้้องช่วยล่ก่ค้าออก่แบบโปีรแก่รมทั้เห่มาะสมอีีก

ด้วย เรามีีกรอบความคิดคร่าว ๆ ว่าผู้ลงานออก่แบบ

สถาปัั ตั้ยก่รรมขึ้องเราจะตั้้องม้ความสอดคล้อง

กัับท้้องถินน้น ๆ ตั้อบร้บกัับสถานทั้และเขึ้้าใจอย่าง

ลึึกซึ้้ งถ้งบริบทัขึ้องทั้ตั้้งขึ้องโครงก่ารอย่เสมอ

สถาปัั ตั้ยก่รรมขึ้องเราจะตั้้องก่ลมกล ืน ไม่เป็็ นอืน

จาก่สภัาพแวดล้อม” (พิสิษฐ)

ดิเรกกลุ่าวเสริมตอถ่งโอกาสของ Habita Architects

ในการได้รับงานปัระเภูที่โรงแรมแลุ่ะร่สอร์ตที่่ม่เครือใน

ห้ลุ่ายปัระเที่ศไว้อยางนาสนใจวา ในความเป็็ นจริงนัน คอน

ข้างจะเร่ยบงายแลุ่ะตรงไปัตรงมา คือลุู่กค้าของพื้วกเขา

เพื้่ยงเริมต้นจากความปัระที่ับใจในปัระสบการณ์์การใช้

งานสถาปัั ตยกรรมที่่พื้วกเขาได้ออกแบบ กอนที่่จะตัดสิน

ใจเริมพืู้ ดค่ยแลุ่ะพื้ัฒนาแตลุ่ะโครงการด้วยกัน แลุ่ะใน

กรณีีของงานโรงแรมแลุ่ะร่สอร์ตรูปัแบบเครือ ก็นับเป็็ น

โอกาสที่่ตอเนือง เมือลุู่กค้าของพื้วกเขา หร ือที่างเครือ

โรงแรมเห็็นวาการที่ำางานรวมกันเป็็ นไปด ้วยความราบ

รืน แลุ่ะผลุ่งานก็เป็็ นที่่พื้่งพื้อใจของผู้ใช้อาคาร ก็จะนำาไปั

สูการได้รับงานออกแบบโครงการอืน ๆ ของเครือตามมา

ไมวาจะเป็็ นในปัระเที่ศหร ือตางปัระเที่ศ

โดยมากล ูกค ้าจะเป็็ นฝ่่ ายเริมตั้้นตั้ิดตั้่อเขึ้้ามา “อาจจะ

เพราะเคยเห็็นหร ือเคยมีีประสบก่ารณ์์ ในงานออก่แบบ

ขึ้องเรา แล้วอยาก่สร้างและนำาเสนองานลัักษณ์ะคล้าย

กัันในทั้อืน ๆ ซึ่่ งก็็เป็็ นสิงทั้เราห่ล้ก่เล้ยง เพราะม้นไม่

ควรม้งานทั้ถููกทำำาซึ่ำ า ไม่ว่าจะอย่ที่่ไห่นก็็ตั้าม ซึ่่ งทุุก่

ว้นน้ ก่ารเขึ้้าถ้งผู้ลงานขึ้องผู้่้ออก่แบบ เป็็ นเรืองทั้

ง่ายกว ่าสม้ยก่่อนมาก่ ในอด้ตั้ ก่ารทั้ผู้ลงานชินห่น้ ง ๆ

จะปีราก่ฎส่สายตั้าสาธ่ารณ์ชน แทับจะตั้้องอาศ้ยสื อ

อย่างพวกน ิตั้ยสารตั้่าง ๆ ซึ่่ งก็็เป็็ นเรืองยากที่่ผู้ลงาน

จะถููกตีีพ ิมพ์ เพราะพืนทั้ม้อย่างจำาก่้ด แตั้่ทุุกว ันน้ความ

ก้้าวหน ้าขึ้องโซึ่เช้ยลม้เด้ย ผู้่้ออก่แบบแทับจะม้สื ออย่

ในมือ พืนทั้ม้นแทับจะไม่จำาก่้ด แตั้่ก็็จะม้ล่ก่ค้าบางส่วน

ทั้อยาก่จะให้้เราทำำาปีระก่วดแบบ ซึ่่ งก็็เป็็ นสิงทั้เราห่ล้ก่

เล้ยง ปีระก่ารแรก่ เราคิดว่าห่าก่ไม่ม้นใจว่าเราจะทำำาได้

ก็็ไม่ควรทั้จะใช้เรา และปีระก่ารทั้สอง บริษ้ทัขึ้องเราไม่ได้

ม้พนัักงานมาก่มายพอทั้จะใช้เวลาไปีก่้บก่ารปีระก่วด

แบบ ” เขึ้าเล่าขึ้ยาย

5

5-6

Six Senses Punakha

ที่ภูฏาน

6


HABITA ARCHITECTS

67

7

“MOST OF THE TIME, CLIENTS REFER TO

OUR PREVIOUS HOTEL PROJECTS, INDI-

CATING THAT THEY ARE INTERESTED OR

IMPRESSED BY THE DESIGN DIRECTION OF

A PARTICULAR HOTEL WE HAVE WORKED

ON. WE THEN BEGIN BY UNDERSTANDING

THE CLIENT’S NEEDS AND THE CONTEXT OF

THE SITE IN EVERY ASPECT, TO PROPOSE A

CONCEPT WE THINK SUITS THE PROJECT.

IF A CLIENT COMES WITH BROAD REQUESTS,

WE WILL DISCUSS THE FACTORS THAT

IMPACT ARCHITECTURE FROM VARIOUS

PERSPECTIVES. FOR INSTANCE, HOW

SIMILAR PROJECTS HAVE BEEN DESIGNED

IN THAT COUNTRY OR WHETHER A CER-

TAIN TYPE OF BUILDING IS SUITABLE FOR

THE COUNTRY’S ENVIRONMENT. WE ALSO

HAVE TEAMS SPECIALIZING IN SPECIFIC

COUNTRIES. FOR EXAMPLE, THE TEAM

THAT WORKED ON PROJECTS IN THE

MALDIVES WILL TAKE CARE OF NEW PRO-

JECTS THERE, BASED ON THEIR UNDER-

STANDING OF THE COUNTRY’S CONTEXT

AND LIMITATIONS,” PISIT EXPLAINS,

ELABORATING ON THE FIRM’S WORKING

PROCESS.

Hospitality Architecture Outbound

“OUR DESIGN APPROACH FOR EACH

PROJECT VARIES DEPENDING ON THE

CONSTRAINTS OF EACH HOTEL CHAIN.

EACH BRAND HAS ITS OWN DESIGN TEAM

THAT CHECKS OUR DESIGNS. WE ARE

OFTEN TRUSTED BY OUR CLIENTS TO

WORK WITH THEM CONSISTENTLY,

POSSIBLY DUE TO OUR ABILITY TO UN-

DERSTAND THEIR NEEDS AND FOLLOW

THEIR DESIGN FRAMEWORK. IN SOME

CASES WHERE THERE IS NO REFERENCE

TO A SPECIFIC BRAND, WE HELP CLIENTS

DESIGN A SUITABLE PROGRAM AS WELL.

WE HAVE A GENERAL FRAMEWORK THAT

OUR ARCHITECTURAL DESIGNS MUST BE

IN HARMONY WITH THE LOCAL CONTEXT,

RESPOND TO THE SITE, AND DEEPLY

UNDERSTAND THE PROJECT'S LOCATION.

OUR ARCHITECTURE MUST BLEND IN NAT-

URALLY WITH ITS ENVIRONMENT.” (PISIT)

7

Six Senses Gangtey

ที่ภูฏาน


68

professional

8

Six Senses Punakha

ที่ภูฏาน

ก่่อนแสดงความคิดเห็็นตั้่อสิงทั้ตั้้องคำน ึงถ้งในก่าร

ทำำางานในตั้่างปีระเทัศว่า “จริง ๆ แล้ว ก็็ไม่ได้มีีข้้อแตั้ก่

ตั้่างอะไรเป็็ นพิเศษจาก่ก่ารทำำางานในปีระเทัศ ซึ่่ งจะ

ตั้้องเขึ้้าใจขึ้้อกำำาห่นดพืนฐาน เช่นตั้้วบทัก่ฎห่มายและ

ขึ้้อจำาก่้ดตั้่าง ๆ ทั้เขึ้้ามาม้ผู้ลตั้่อก่ารออก่แบบ แตั้่ก็็อาจ

จะม้ส่วนปล ีกย ่อย เช่น คตั้ิความเชือขึ้องท้้องถินน้น ๆ

ทั้เราจำาเป็็ นตั้้องร่้ก่่อนก่ารทำำางานออก่แบบด้วยเช่นกััน

เพราะบางคร้งก่ารหย ิบจ้บองค์ปีระก่อบบางอย่างไปี

ใช้ โดยไม่เขึ้้าใจบริบทัเชิงว้ฒนธ่รรม ก็็อาจจะทำำาให้้เกิิด

ความไม่สบายใจหร ือความเขึ้้าใจผู้ิดตั้่อกัันได้”

เขาอธิบายตอเพื่่อให้้สามารถเข้าใจถ่งแงม่มการที่ำางาน

ออกแบบที่่ตอบสนองตอบริบที่พื้้นที่่ ด้วยผลุ่งานออกแบบ

โครงการ Six Senses Ninh Van Bay ในปัระเที่ศเว่ยดนาม

ซุ่ งแรกเริมเดิมที่่ ที่างเจ้าของโครงการปัระสงค์อยากให้้

ที่างที่่มออกแบบโครงการลุ่ักษณ์ะเด่ยวกับโครงการใน

มัลุ่ด่ฟัส์ (เป็็ น Water villa) แตเมือที่างที่่มงานเห็็นพื้้นที่่

โครงการ ซุ่งม่ความโดดเดนในเรืองของหิิน จ่งเลุ่ือกที่่จะ

นำาเสนองานออกแบบให้้สอดคลุ่้องกับหิินที่่ม่มากมายอยูใน

พื้้นที่่ของโครงการ แลุ่ะเลุ่ือกใช้ภูาษาที่างสถาปัั ตยกรรม

ที่่เป็็ นงานพื้้นถินของเว่ยดนาม โดยใช้วัสด่ธรรมชาติ

ทั้้งห้มด โดยม่งเน้นในเรืองฝีีมือเชิงชางของชางพื้้นถินให้้ ได้

แสดงออกอยางเต็มที่่ ผานรายลุ่ะเอ่ยดที่างสถาปัั ตยกรรม

เชน รายลุ่ะเอ่ยดการเข้าไม้แลุ่ะเที่คนิคการม่งห้ลุ่ังคาที่่ม่

เอกลุ่ักษณ์์

นาสนใจวา แนวที่างการออกแบบที่่ปัรากฏเดนชัดอยู

เสมอแลุ่ะชวนติดตามของออฟัฟัิ ศแห่่งน่ คือการที่ำาความ

เข้าใจสถาปัั ตยกรรมพื้้นถิน นำามาพื้ิจารณ์า ต่ความใหม ่

เหต ุผลุ่สำค ัญ่ที่่เลุ่ือกศ่กษาจากงานสถาปัั ตยกรรมพื้้นถิน

เพื้ราะเป็็ นสถาปัั ตยกรรมที่่สอดคลุ่้องกับพื้้นที่่แลุ่ะได้รับ

การพื้ิสู จน์ผานกาลุ่เวลุ่านับร้อยนับพื้ันปีี แลุ่้ววาเห้มาะสม

กับพื้้นที่่นัน ๆ เป็็ นการศ่กษาที่่ม่งเน้นไปัที่่มูลุ่เหต ุของการ

เกิดรูปัแบบของสถาปัั ตยกรรมพื้้นถินนัน ๆ ความเข้าใจที่่

ลุ่่กซุ่ งจะที่ำาให้้สามารถนำาไปต ่อยอดในการออกแบบที่่

ไมได้เป็็ นเพื้่ยงการสวมเปัลุ่ือกของรูปัแบบเที่านัน โดย

เห็็นได้อยางชัดเจนในโครงการ Six Senses Bhutan ใน

ปัระเที่ศภููฏาน ซุ่งดิเรกเลุ่าวา โครงการน่เป็็ นโครงการที่่

คอนข้างที่้าที่าย เพื้ราะเป็็ นโรงแรมเด่ยวแตกระจายตัว

อยูในห้้าเมืองของภููฏานคือ Thimphu, Paro, Punakha,

Gangtey แลุ่ะ Bumthang ซุ่ งข้อจำก ัดเด่ยวกันสำาห้รับ

งานสถาปัั ตยกรรมที่่จะเกิดข่นในปัระเที่ศภููฏานคือจะต้อง

สะที่้อนความเป็็ นสถาปัั ตยกรรมภููฏาน แตก็จำาเป็็ นที่่จะต้อง

นำาเสนอเนือห้าที่่เห้มาะสมสำาห้รับบริบที่ของพื้้นที่่ในแตลุ่ะ

เมืองด้วย เพื่่อให้้งานสะที่้อนเอกลุ่ักษณ์์ของพื้้นที่่นัน ๆ ภูาย

ใต้กรอบเด่ยวกันคือความเป็็ นสถาปัั ตยกรรมภููฏาน ความ

คิดที่่ถูกนำาเสนอตังแตครังแรกในการนำาเสนอผลุ่งาน แลุ่ะ

ได้รับการยอมรับจากเจ้าของโครงการ ถูกพื้ัฒนาข่นเป็็ น

ลุ่ำด ับกระทั่่งโรงแรมถูกสร้างแลุ่้วเสร็จแลุ่ะถูกเปิิ ดใช้ แนว

ความคิดดังกลุ่าวก็ยังถูกที่างโรงแรมนำาไปัเลุ่าขานตอ งาน

Six Senses Bhutan จ่งเป็็ นห้น่งในงานที่่สะที่้อนการเดิน

ที่างของความคิดได้เป็็ นอยางด่

8


HABITA ARCHITECTS

69

THAT IF WE’RE NOT SURE WE CAN DO IT,

WE SHOULDN’T BE ASKED TO. SECONDLY,

OUR FIRM DOESN’T HAVE ENOUGH STAFF

TO SPEND TIME ON DESIGN COMPETITIONS,”

HE EXPLAINED FURTHER.

9

Six Senses Thimphu

ที่ภูฏาน

Direk further elaborated on Habita's opportunity

to take on hotel and resort projects across multiple

countries, saying it’s actually quite simple and

straightforward. Their clients typically start from

being impressed by the architectural experience

of a project they have designed, and then proceed

to discuss and develop each project together. In

the case of chain hotels and resorts, it becomes a

continuous opportunity. When their clients or the

hotel chains see that the collaboration is smooth

and the work satisfies building users, it leads to

further design opportunities for other projects in

the chain, whether domestically or internationally.

USUALLY, IT’S THE CLIENTS WHO REACH

OUT FIRST. “PERHAPS BECAUSE THEY

HAVE SEEN OR EXPERIENCED OUR DESIGN

WORK AND WANT TO CREATE AND PRES-

ENT SOMETHING SIMILAR ELSEWHERE.

HOWEVER, WE TRY TO AVOID THIS BECAUSE

WE BELIEVE NO PROJECT SHOULD BE

REPEATED, NO MATTER WHERE IT IS.

TODAY, IT'S MUCH EASIER TO ACCESS A

DESIGNER’S WORK THAN IT WAS BEFORE.

IN THE PAST, FOR A PIECE OF WORK TO BE

MADE PUBLIC, IT ALMOST ALWAYS HAD

TO RELY ON MEDIA, SUCH AS MAGAZINES,

AND GETTING WORK PUBLISHED WAS

DIFFICULT BECAUSE SPACE WAS LIMITED.

BUT WITH THE ADVANCEMENT OF SOCIAL

MEDIA TODAY, DESIGNERS ALMOST HAVE

MEDIA IN THEIR HANDS, AND THE SPACE

IS VIRTUALLY UNLIMITED. HOWEVER,

SOME CLIENTS STILL WANT US TO PARTI-

CIPATE IN DESIGN COMPETITIONS, WHICH

WE TRY TO AVOID. FIRSTLY, WE BELIEVE

9

He also shared his thoughts on working internationally,

stating, "In fact, there is no significant

difference from working domestically. You still

need to understand the basic requirements, such

as legal regulations and various limitations that

affect design. However, there may be additional

considerations, such as local beliefs that we

must understand before starting the design work.

Sometimes, using certain elements without understanding

the cultural context can cause

discomfort or misunderstanding."

He further explained how they design to respond

to the context of a site by referencing their project

for Six Senses Ninh Van Bay in Vietnam. Initially,

the client wanted a design similar to their Maldives

project (a Water Villa). However, upon seeing

the site, which had a distinct characteristic of

rocks, the team decided to design the project

to align with the abundant rock features in the

area by introducing the rock villa instead. They

chose to use local architectural language and

natural materials, with a focus on showcasing

the craftsmanship of local artisans through

architectural details such as wood joinery and

unique roofing techniques.

An interesting aspect of their design approach,

which is always evident and worth noting, is their

understanding of local architecture, reinterpreting

it with fresh insights. The reason they study local

architecture is because it aligns with the area

and has been proven over hundreds or even

thousands of years to be suitable for that

environment. This study focuses on the underlying

reasons behind the form of local architecture, and

a deep understanding allows them to build upon

it in their designs, not just replicate the form. This

is clearly seen in their Six Senses Bhutan project,

which Direk explained as being a challenging

project. The hotel is spread across five cities in

Bhutan: Thimphu, Paro, Punakha, Gangtey, and

Bumthang. The common constraint for architectural

work in Bhutan is that it must reflect Bhutanese

architecture, but they also had to present content

appropriate to each city’s context. This approach

ensured that the work reflected the uniqueness

of each location while still maintaining the overall


70

professional

Outbound architecture

ในโอกาสน่ ด้วยปัระสบการณ์์การออกแบบโรงแรมแลุ่ะ

ร่สอร์ตที่่พื้วกเขาม่มาอยางยาวนาน เราได้ชวนพื้ิสิษฐแลุ่ะ

ดิเรกพืู้ ดค่ยแสดงความคิดเห็็นตอถ่งจ่ดเดนในผลุ่งาน

ออกแบบของสถาปน ิกไที่ย รวมทั้้งสิงที่่ควรต้องผลุ่ักดัน

ให้้สามารถก้าวไปัสูการที่ำางานออกแบบในระดับนานาชาติ

ได้นันคืออะไร ดิเรกตอบกลุ่ับไว้ ให้้ชวนคิดตามวา อันที่่

จริงแลุ่้ว ไมเพื้่ยงแตสถาปน ิกชาวไที่ยเที่านัน แตรวมถ่ง

สถาปน ิกชาวตางชาติ เมือม่โอกาสได้ที่ำาโครงการในตางถิน

พื้วกเขาก็ยอมจะนำาเสนอสถาปัั ตยกรรมผานม่มมองของ

คนนอกด้วยกันทั้้งนัน

“น้คือมุมมองมองย้อนกล ับไปย ังพืนทั้ตั้รงน้น เปร ียบ

เทีียบให้้เขึ้้าใจยิงขึ้้ น ก็็เหม ือนกัับมุมมองขึ้อง Philip

Cornwel-Smith ในหน ังสื อ Very Thai ในขึ้ณ์ะทั้

ผู้มคิดว่า เรืองก่ารทำำาความเขึ้้าใจกัับว้ฒนธ่รรมก่าร

ทำำางานทั้แตั้ก่ตั้่าง ก็็เป็็ นสิงทั้ตั้้องให้้ความสำาค้ญ่ไม่น้อย

ไปีก่ว่ากััน ยก่ตั้้วอย่างเช่น งานทั้เราเคยทำำาในม้ลด้ฟส์

ทั้คนทั้ก่่อสร้างคือช่างพืนถิน แรก่ทั้เด้ยว เราก็็เขึ้้ยน

รายละเอ้ยดทัางสถาปัั ตั้ยก่รรมมาก่มาย แตั้่ทัราบว่า

คนทั้ก่่อสร้างเขึ้าแทับจะไม่ได้ด่ในแบบรายละเอ้ยดทั้

เราเขึ้้ยนมาก่มายน้นเลย จะเป็็ นลัักษณ์ะขึ้องก่ารอ่าน

ภัาพรวมแล้วด้นสดไปด ้วย ทำำาให้้ภัายหล ังเราก็็จำาเป็็ น

ตั้้องปร ับลัักษณ์ะก่ารทำำางานขึ้องเราให้้สอดคล้องกัับ

ลัักษณ์ะก่ารทำำางานขึ้องช่างพืนถิน เพือให้้ก่ารทำำางาน

ดำาเนินไปีได้อย่างราบรืนยิงขึ้้ น

มีีประเด็นทั้ผู้มคงไม่สามารถพ่ ดได้ว่าม้นเป็็ นลัักษณ์ะ

ขึ้องสถาปน ิก่ไทัย แตั้่เป็็ นตั้้วผู้มเองและสถาปน ิก่จาก่

Habita Architects บางคนก็็แล้วกััน ผู้มส้งเก่ตั้ว่า

ห่ลายคร้งทั้มีีการปีระชุม เราจะชอบเป็็ นผู้้ฟ ั งมาก่ก่ว่า

ผู้้พ ู ด โดยผู้มมองว่าไม่เห็็นตั้้องร้บแสดงให้้คนอืนร่้

ว่าเราม้ความคิดเห็็นทั้น่าสนใจอย่างไร ก่ารทำำางาน

สถาปัั ตั้ยก่รรมม้นใช้เวลา และผู้ลงานทั้เสร็จจะบอก่

เองว่าความคิดขึ้องเราเป็็ นอย่างไร แตั้่ลัักษณ์ะเช่นน้ก็็

อาจจะส่งผู้ลในแง่ลบ ห่ากว ่าม้นคือความคาดหว ังขึ้อง

เจ้าขึ้องโครงก่ารทั้อาจจะตั้้องก่ารก่ารมีีปฏิิส้มพ้นธ์์ทั้

มาก่ขึ้้ นและทัันทีีทัันใดขึ้องเราในก่ารปีระชุม ซึ่่ งในส่วน

น้ก็็อาจจะตั้้องห่าความสมดุลระหว ่างบุคลิก่ล้ก่ษณ์ะ

ส่วนตั้้วขึ้องเรากัับความคาดหว ังขึ้องคนอืน” ดิเรก่

ขึ้ยายความเสริม

พื้ิสิษฐเลุ่าตอวา บางครังในการที่ำางานกอสร้างจริง ก็

คลุ่าดเคลื่่อนจากที่่พื้วกเขาได้ออกแบบไว้ โดยเฉพื้าะอยาง

ยิงที่่ปัระเที่ศจ่น เมือพื้วกเขาสงแบบไปั บริษัที่สถาปน ิกใน

ที่้องถินที่่รับผิดชอบดูแลุ่งานตอนัน มักจะนำาไปัปัรับแก้จน

แตกตางจากความตังใจของพื้วกเขา กระทั่่งในขันตอนการ

กอสร้างก็ตางออกไปอ ีกขัน นันอาจเป็็ นผลุ่สืบเนืองจาก

ผังเมืองแลุ่ะกฎห้มายควบค่มอาคารที่่ปร ับเปัลุ่่ยนอยูบอย

ครัง โดยงานในปัระเที่ศจ่น พื้วกเขามักจะได้ที่ำางานคือ

ขันตอนการวางผังแลุ่ะคอนเซ็็ปต ์ด่ไซน ์ ขณ์ะที่่การที่ำางาน

ในเว่ยดนาม ลุ่าว หร ือมัลุ่ด่ฟัส์ ก็จะแที่บจะใช้เป็็ นแบบ

กอสร้างเลุ่ย กอนเราจะถามทิ้้งที่้ายดิเรกถ่งความคิดเห็็น

ที่่สถาปน ิกไที่ยควรพื้ัฒนาตนเองอยางไร เพื่่อให้้ โอกาส

ในการที่ำางานออกแบบในระดับนานาชาติ ซุ่งเขาตอบไว้

อยางเร่ยบงาย วา

10-11

Six Senses Ninh Van

Bay ที่เวียดนาม

11

“สิงทั้สถาปน ิก่ไทัย (จริง ๆ ก็็น่าจะสถาปน ิก่ทัุก่คน)

สามารถทำำาได้ก็็คือตั้้องทำำางานทั้ทำำาอย่ให้้ออก่มาด้ทั้สุด

ไม่ว่าจะเป็็ นงานสถาปัั ตั้ยก่รรมปีระเภัทัไห่นก็็ตั้าม และ

อย่างทั้ผู้มได้พ่ ดไปีในตั้อนตั้้นถ้งก่ารเขึ้้าถ้งผู้ลงานทุุก่

ว้นน้ม้นง่าย ซึ่่ งม้นสามารถถููกเห็็นได้จากที่่ไห่นก็็ได้ ใน

โลก่ เมืองานม้นด้ (อย่างน้อยก็็ในเชิง visual) สุดท้้าย

ผู้ลงานก็็จะเป็็ นสิงทั้เสริมสร้างโอก่าสในก่ารได้งานเอง”

10


HABITA ARCHITECTS

71

framework of Bhutanese architecture. The idea

presented initially was accepted by the project

owner, and it was developed progressively until

the hotel was completed and opened. This concept

has continued to be shared and appreciated by

the hotel, making Six Senses Bhutan a prime

example of how an idea can evolve and resonate

throughout a project.

Outbound Architecture

On this occasion, with their extensive experience

in designing hotels and resorts, we invited Pisit

and Direk to share their thoughts on the strengths

of Thai architects' work and what should be pushed

forward to help them achieve international design

opportunities. Direk responded with an interesting

point to consider: In reality, it’s not only Thai

architects who may bring an outsider's perspective

when working on projects abroad, but also foreign

architects.

“THIS IS A PERSPECTIVE LOOKING BACK

AT THE PLACE, MUCH LIKE PHILIP CORNWEL-

SMITH'S VIEWPOINT IN HIS BOOK VERY

THAI. WHILE I THINK UNDERSTANDING

THE DIFFERENT WORKING CULTURES

IS JUST AS IMPORTANT, LET ME GIVE AN

EXAMPLE FROM A PROJECT WE DID IN THE

MALDIVES. THE CONSTRUCTION WORKERS

WERE LOCAL ARTISANS. INITIALLY, WE

WROTE MANY ARCHITECTURAL DETAILS,

BUT WE LEARNED THAT THE BUILDERS

RARELY REFERRED TO THE DETAILED

DRAWINGS. THEY WOULD GENERALLY

READ THE OVERALL PICTURE AND

IMPROVISE. THIS LED US TO ADJUST OUR

WORKING APPROACH TO ALIGN WITH

THE LOCAL CRAFTSMEN’S STYLE TO

ENSURE SMOOTHER PROGRESS.”

SOMETIMES HAVE NEGAT-

IVE EFFECTS IF THE PROJECT OWNER

EXPECTS MORE IMMEDIATE INTERACTION

AND RESPONSES DURING MEETINGS. THIS

IS SOMETHING THAT REQUIRES A BALANCE

BETWEEN OUR PERSONAL TRAITS AND

THE EXPECTATIONS OF OTHERS,” DIREK

ELABORATED.

Pisit continued, mentioning that sometimes during

actual construction, things can deviate from their

original designs, particularly in countries like China.

When they sent their designs to a local architectural

firm handling the project, it often ended up being

altered significantly, even during the construction

phase. This might be due to urban planning and

building regulations, which frequently change.

In their work in China, they usually handle the

planning and design concepts, while in countries

like Vietnam, Laos, or the Maldives, their designs

are almost used directly for construction. Before

we concluded, we asked Direk for his thoughts on

how Thai architects should develop themselves to

gain more international design opportunities. He

responded simply:

12

Six Senses Ninh Van

Bay ที่เวียดนาม

12

“THERE’S SOMETHING I CAN’T REALLY

SAY IS TYPICAL OF THAI ARCHITECTS, BUT

RATHER SOMETHING I NOTICE IN MYSELF

AND SOME ARCHITECTS FROM HABITA

ARCHITECTS. I’VE OBSERVED THAT

DURING MEETINGS, WE TEND TO LISTEN

MORE THAN SPEAK. I BELIEVE THERE’S

NO RUSH TO EXPRESS OUR THOUGHTS

OR OPINIONS RIGHT AWAY. ARCHITEC-

TURAL WORK TAKES TIME, AND THE

COMPLETED PROJECT WILL SPEAK FOR

ITSELF. HOWEVER, THIS TENDENCY CAN

“WHAT THAI ARCHITECTS (OR REALLY,

ANY ARCHITECTS) SHOULD DO IS FOCUS

ON MAKING THEIR CURRENT WORK THE

BEST IT CAN BE, NO MATTER WHAT TYPE

OF ARCHITECTURE IT IS. AS I MENTIONED

EARLIER, IT’S EASY TO ACCESS WORK

THESE DAYS, AND IT CAN BE SEEN ANY-

WHERE IN THE WORLD. WHEN THE WORK

IS GOOD (AT LEAST VISUALLY), IT WILL

EVENTUALLY CREATE OPPORTUNITIES

FOR MORE PROJECTS.”


72

professional / studio

CO TEMPORARY

ARCHITECTS

BANGKOK

FOUNDERS

ITIRIT HATAIRATANA

& PISES ISARANGKOOL

NA AYUTTHAYA

ผู้ลงานเด่น : เป็นผลงานแรกที่ทำางานที่ผม

(อิทธิฤทธิ์ หทัยรัตนา) ทำางานร่วมกันกับ

Partner (ยู - พิเศษ อิศรางกูร ณ อยุธยา)

"บ้านบางแวก" เป็นผลงานที่ยังภูมิใจอยู่ถึง

ทุกวันนี้เพราะเป็นงานที่พวกเราเริ่มทำก ันเอง

ตั้งแต่จบมหาวิทยาลัยมาได้ไม่นานและผลัก

ดันกันร่วมกับ Owner จนงานออกมาเสร็จ

สมบูรณ์ และเป็นงานที่ถูกเผยแพร่ลงสื่อต่าง ๆ

มากที่สุดเลยน่าจะเป็นผลงานที่จะพอคุ้นตาใน

สื่อสาธารณะมากที่สุด ตอนนี้เราเปิดสตูดิโอมา

ได้ประมาณ 3 ปี งานสถาปัตยกรรมงานหนึ่ง

นั้นใช้เวลามากพอสมควรกว่าจะเสร็จสมบูรณ์

ผลงานใหม่ ๆที่เริ่มทำก ันมาในนามสตูดิโอ

CO Temporary Architects กำล ังทยอยสร้าง

เสร็จกันเรื่อย ๆ ครับ

ช่วยเล่าถ้งทั้มาทั้ไปีขึ้องสตููด ิโอได้ไห่ม

ว่าเริมตั้้นขึ้้ นได้อย่างไร?

หลังจากผมและยูจบปริญญาตรี จากคณะ

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ก็ได้แยกย้ายกันไปทำางานสตูดิโอดีไซน์กัน

คนละที่ หลังจากผ่านไปสองปีก็มีโอกาสเข้า

มาก็คือโปรเจกต์ นบางแวก ก็รู้สึกว่านอก

จากเหตุผลที่เป็นเพื่อนกันที่มหาวิทยาลัย

แล้ว แนวทางในการทำางานดีไซน์มีส่วนที่

เห็นร่วมกันพอสมควร จึงตัดสินใจทำางาน

ร่วมกันตอนนอกเวลาทำางานหลักจนโปรเจ

กต์เสร็จสมบูรณ์ จากนั้นก็ได้แยกย้ายกันไป

เรียนต่อปริญญาโทที่ต่างประเทศ ส่วนตัว

ผมไปเรียนต่อสาขาสถาปัตยกรรมที่เบอร์ลิน

ประเทศเยอรมนี ส่วนยู ไปเรียนต่อเกี่ยวกับ

Space Syntax ที่ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ

หลังจากเรียนจบและทำางานหาประสบการณ์

ที่ต่างประเทศสักพัก พอกลับมาที่กรุงเทพฯ

เลยตัดสินใจเปิดสตูดิโอร่วมกัน

ออฟฟิ ศมีีการบริห่ารจ้ดก่ารภัาระหน ้าทั้ร้บ

ผู้ิดชอบอย่างไร?

ในช่วงปีแรก ๆ เรายังลงมือทำางานร่วมกัน

ในทุก ๆ โปรเจกต์ ไม่ใช่แค่ทำก ันเองสอง

คน รวมไปถึงน้อง ๆ ทุกคนในรุ่นแรกด้วย

อารมณ์เหมือนทำางานกลุ่มในทุก ๆ โปรเจกต์

แต่พอโปรเจกต์มากขึ้น ผมและยูจะแบ่ง

โปรเจกต์ กันดูแลและมีน้อง ๆ ในทีมรับผิด

ชอบแต่ละโปรเจกต์แยกกันไป แต่จะมีการแชร์

ไอเดียช่วยเหลือกันอยู่เรื่อย ๆ แต่การตัดสิน

ใจสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับคนที่ lead โปร เจกต์

นั้น ๆ อยู่ครับ

ทั้มาขึ้องก่ารได้ร่วมโปีรเจก่ตั้์กัับตั้่างปีระเทัศ

ช่วยบอก่เล่าปีระสบก่ารณ์์ว่าม้สิ งใดทั้เหม ือน

หร ือแตั้ก่ตั้่างจาก่ในปีระเทัศไทัย และก่าร

ทำำางานเหล ่าน้มอบบทัเร้ยนอะไรให้้กัับทีีม

บ้าง?

โปรเจกต์ที่ร่วมกับต่างประเทศ ก็คือที่เมือง

โฮจิ-มินท์ เวียดนาม แล้วก็งานในประเทศ

หลาย ๆงานที่ Owner เป็นต่างชาติครับ

งานที่เวียดนาม เริ่มจากทางลูกค้าเป็นคนไทย

ที่ลงทุนทำธ ุรกิจที่เวียดนาม ได้ตัดสินใจไป

ตั้งออฟฟิศ ที่โฮจิมินห์ แต่ด้วยอุปสรรคเรื่อง

ภาษาที่ทาง Owner กลัวว่า Designer ที่นู้น

จะไม่เข้าใจในสิ่งที่เขาต้องการได้เต็มที่เลย

เลือกที่จะใช้บริการ Designer ไทยแทน พวก

เราเลยได้โอกาสนี้ไปครับ

เรื่องความเหมือนและต่างกันระหว่างที่ไทย

และเวียดนาม เริ่มจากงานดีไซน์สถาปัตย-

กรรม ผมมองว่าเนื่องจากฟังก์ชันเป็นสำนัักงาน

จึงไม่ต่างกันมากในมุมออกแบบการใช้งานนัก

แต่ที่ต่างกันจริง ๆ คือเรื่องงานระบบอาคาร

และกฎหมายควบคุมอาคารต่าง ๆ ที่เป็นข้อ

จำก ัดใหม่ ๆ ในงานดีไซน์ ซึ่งมีพวกเราต้อง

ทำาการแก้ไขแบบภายหลังบางส่วนเพราะเรา

พลาดข้อมูลทางกฎหมายไปด้วย อันนี้น่า

จะเป็นบทเรียนสำค ัญที่สุดในการทำางานต่าง

ประเทศ

อุปสรรคของงานนี้ น่าจะเป็นเรื่องภาษาเป็น

หลัก ช่วงเริ่มต้นเราพยายามใช้ภาษาอังกฤษ


CO TEMPORARY ARCHITECTS

73

เป็นหลักในการสื่อสาร แต่พองานก่อสร้างได้

ผ่านไปสักระยะหนึ่ง รายละเอียดต่าง ๆ ลงลึก

มากขึ้นและทีมก่อสร้างที่นั่นภาษาอังกฤษเขา

ยังไม่ดีนัก สุดท้ายจำาเป็นต้องรบกวน Owner

ทำาการจ้างล่ามภาษาเวียดนาม-ไทย เข้ามา

แก้ปัญหาจุดนี้ซึ่งก็ผ่านไปได้ด้วยดี ในส่วนที่

เป็นข้อดีคือวัสดุต่าง ๆ ที่เราต้องการใช้ในงาน

ดีไซน์ซึ่งต้องให้ทีมก่อสร้างในพื้นที่เขาเตรียม

และช่วยเสนอตัวเลือกให้เราเป็นอย่างดีเพื่อ

ลดการ Import อาจจะไม่ตรงสเปคบ้างแต่เพื่อ

ช่วยคุมค่าใช้จ่ายให้แก่ Owner อันนี้ผมต้องให้

เครดิตกับทาง TQH Architects ทีมก่อสร้าง

ที่นู้นครับ

ส่วนของงานในประเทศที่ Owner เป็นต่างชาติ

ส่วนใหญ่จะเป็นงานบ้าน หรือ Interior ในคอน

โดเป็นหลัก ที่ต่างกันหลัก ๆ เลยคือ ที่มาของ

Reference, Mood&Tone ในการพูดคุยเพื่อ

เริ่มต้นการทำางานออกแบบนั้นต่างจากคนไทย

พอสมควร ยกตัวอย่าง โปรเจกต์" บ้านปุณณ

วิถี" ตอนนี้กำล ังก่อสร้างอยู่ เราต้องดีไซน์

บ้านสามชั้นบนพื้นที่ที่ค่อนข้างจำกััด ส่วนใหญ่

แล้วถ้าเป็น Owner คนไทยจะให้ความสำค ัญ

ไปที่ปริมาณพื้นที่ใช้สอยภายในเป็นหลัก ส่วน

เรื่องอื่น ๆ จะรองลงมา เช่น เรื่องของแสง

ธรรมชาติหรือการระบายอากาศที่ดี อาจจะ

เพราะมองว่าในกรุงเทพฯ เรื่องอากาศ ฝุ่น

ฝน และความร้อน ส่วนใหญ่ก็อยู่ในพื้นที่ปิด

อยู่แล้ว แต่ทาง Owner ซึ่งเป็นคนเบลเยียม

เขาให้โจทย์ คือแสงธรรมชาติ การระบาย

อากาศและ Quality of Space เป็นหลัก เช่น

ถ้าพื้นที่ห้องเล็กลงไปบ้างแต่ยังใช้งานได้แลก

กับพื้นที่เปิดที่ช่วยให้เกิด Ventilation ที่ดี มี

แสงและเงาทอดลงมาสวยงามเขาก็จะซื้อ

ไอเดียนี้

ช่วยยก่ตั้้วอย่างผู้ลงานออก่แบบทั้ร่้ส้ก่

ท้้าทัายหร ือปีระทัับใจให้้ฟั งได้ไห่ม?

ช่วงหลัง ๆ มานี้ถ้าเป็นงานประเภท Residential

ส่วนใหญ่จะเป็นงาน Renovation งานสร้าง

ใหม่เลยมีน้อยมาก ๆ ซึ่งดูแล้วน่าจะเป็น Trend

ที่จะอยู่ต่อไปของประเทศไทยโดยเฉพาะ

พื้นที่ในเมืองอีกสักพักใหญ่แน่นอน

งาน Renovation เป็นงานที่ท้าทายพอสมควร

ทั้งความยากเรื่องทำางานบนโครงสร้างเดิม

เรื่องกฎหมายในบ้านเราที่ผมยังมองว่ายังไม่

เอื้อให้กับงานรีโนเวทมากนัก เรื่องความเข้าใจ

ของ Owner ว่าการปรับโฉมบ้านใหม่เปลี่ยน

ทั้งพื้นที่ (space) หน้าตาอาคารทั้งภายนอก

ภายใน ปรับโครงสร้างและงานระบบอาคาร

ทั้งหมดนั้น ค่าใช้จ่ายที่จริง ๆ แล้วแทบไม่ต่าง

จากงานสร้างใหม่เลยในบางกรณี

ผลงานที่พวกเรารู้สึกประทับใจ คืองานที่ขนาด

ไม่ใหญ่นักประมาณ 80 กว่าตารางเมตร พึ่ง

เสร็จไปเมื่อไม่นานนี้ โปรเจกต์ "บ้าน 986" ที่

กำ้ากึ่งกันระหว่างงานสร้างใหม่หรือเป็นงาน

รีโนเวท เป็นบ้านหลังเก่าที่ถูกไฟไหม้จนเหลือ

ร่องรอยแค่ฐานโครงสร้างปูน เป็นโจทย์ที่เรา

ต้องออกแบบส่วนต่อขยายจากอาคารที่ยังหลง

เหลือ เพื่อสร้างพื้นที่ใหม่โดยใช้โครงสร้างพื้น

เดิมทั้งหมด และยังต้องคำน ึงถึงความสูงและ

รูปร่างอาคารที่จะมีผลกับบริบทรอบ ๆ ทั้ง

อาคาร ต้นไม้ รั้วของบ้านเดิม สุดท้ายต้อง

คำน ึงถึงงานออกแบบที่มีวิธีการก่อสร้างโดย

รถยนต์ไม่สามารถเข้าถึง จำาเป็นต้องใช้แรงคน

มากพอสมควรในการลำาเลียงวัสดุเข้าหน้างาน

คุณ์ได้วางแผู้นหร ือตั้้งเป้้ าห่มายในอนาคตั้

สำาห่ร้บออฟฟิ ศไว้เช่นไร?

เป้าหมายคือนอกจากเราเปิดสตูดิโอออกแบบ

เพื่อทำางานเลี้ยงชีพแล้ว เหมือนเรายังอยาก

สนุกในการทำางานนี้ต่อไปด้วยเรื่อย ๆ การ

ได้ทำางานบนโจทย์ดีไซน์ใหม่ ๆ นอกจากบ้าน

ที่เป็นโจทย์เฉพาะตัวของแต่ละ Owner แล้ว

โปรแกรมอื่น ๆ ก็น่าสนใจเช่นกัน แต่อุปสรรค

ก็คือถ้าไม่เคยได้ทำามาก่อนก็จะยากหน่อยที่

ลูกค้าจะตัดสินใจใช้บริการเรา แต่ก็มีตัวอย่าง

เช่นผลงานออกแบบสนามแบดมินตันที่

สามพราน พวกเราไม่เคยออกแบบสนามกีฬา

มาก่อนเลย ลูกค้าจะมีคำาถามว่าเราทำาได้มั้ยใน

ตอนแรก แต่สุดท้ายเราก็ได้ทำาจนตอนนี้

โปรเจกต์ สร้างเสร็จสมบูรณ์และได้รับ Feedback

ที่ดีจากทาง Owner พวกเราได้งาน

นี้มาก็ด้วยการทำา Research และนำาเสนอ

จนลูกค้ามั่นใจหลังจากที่สตูดิโอเราสั่งสม

ประสบการณ์และ Portfolio ได้พอสมควรแล้ว

ก็หวังว่าในอนาคตจะมีโจทย์และโอกาสใหม่ ๆ

ในทุก ๆสเกลให้เราได้ลองทำทั้งในประเทศ

แล้วก็ต่างประเทศครับ


74

professional / studio

How does the studio manage

responsibilities and operations?

In our early years, all studio projects

were highly collaborative, involving from

everyone in our office. As project volume

grew, Pises and I began leading separate

projects, each with their own team. While

project leads have final decision-making

authority, we maintain a collaborative

environment with ongoing idea-sharing

and mutual support.

Beyond the unique challenges of residential

design, exploring new design briefs in other

project types is appealing.

A notable achievement of mine is

"Baan Bang-Waek," a project marking

my first collaboration with my partner,

“You - Pises Isarangkool Na Ayutthaya".

I've remained proud of this work, as

it was a project we initiated shortly

after graduating university, and one

we collaboratively developed with the

owner until its completion. Furthermore,

"Baan Bang-Waek" has received

extensive coverage in various media

outlets, making it perhaps the most

recognizable of our works to the public.

For the past three years, our studio

has been engaged in the practice

of architecture. The realization of

architectural projects is a process

that demands considerable time

and focused effort. Under the studio

name ' CO Temporary Architects', we

are currently developing several new

projects, each of which is steadily

advancing toward completion.

Could you share the story behind

your studio? How did it all begin?

After I and Pises completed our

Bachelor's degrees in Architecture

from Silpakorn University, we went our

separate ways to work at different design

studios. Two years later, the opportunity

arose to collaborate on the Baan Bang-

Waek project. We realized that beyond

our shared history as university friends,

we also had compatible design

philosophies. This led us to work together

on the project in our spare time, outside

of our regular jobs, until its completion.

Following that project, we both pursued

Master's degrees abroad. I specialized

in Architecture at Berlin, Germany,

while Pises focused on Space Syntax in

London, England. After graduating and

gaining some professional experience

overseas, we returned to Bangkok and

decided to open our own studio together.

How did the opportunity to work

on international projects come

about? Could you share your

experience—what similarities

or differences did you notice

compared to working in Thailand?

And what key lessons has your

team gained from these projects?

We've worked on projects internationally,

including in Ho Chi Minh City, Vietnam,

and domestically with international clients.

The Vietnam project arose when a Thai

client, establishing a Ho Chi Minh City

office, chose our studio due to concerns

about language barriers with local

designers.

Our Vietnam project revealed key

differences despite similar office design

principles. Building codes and regulations

varied significantly, requiring post-design

adjustments—a crucial lesson in

international work. The primary obstacle

was language; while we initially used

English, detailed construction discussions

with the Vietnamese team necessitated

hiring a Vietnamese-Thai translator. On

the positive side, the local construction

team (TQH Architects) proved invaluable

in sourcing local materials, helping

manage costs, even with minor spec

deviations. This experience reinforced


CO TEMPORARY ARCHITECTS

75

the importance of local regulatory

knowledge, cultural sensitivity, and

proactive communication in international

projects.

Could you share the example of

a design project that you found

particularly challenging or

memorable?

Domestic projects with international

clients typically involve residential work,

primarily houses and condominium

interiors. A key difference lies in the

client's style, references, and initial mood

and tone discussions, which often vary

significantly from Thai clients.

For example, the "Baan Punnavithi"

project, currently under construction,

involves designing a three storey house

on a limited footprint. Normally, Thai

clients would likely prioritize maximizing

usable space, with less emphasis on

natural light and ventilation, perhaps

due to the perception of Bangkok's

existing air quality, dust, rain, and heat.

On the other hand, the Belgian client

for this project prioritized natural light,

ventilation, and quality of space. They

were willing to accept smaller room sizes

if it meant incorporating open areas that

facilitated better ventilation and beautiful

light and shadow play throughout the

day. This design approach resonated

strongly with the client, who valued these

qualities more than the amount of space

Our current projects are primarily

renovations, a trend likely to continue,

especially in urban Thailand. Renovations

present unique challenges. These

include working within the constraints

of existing structures, navigating often

unsupportive building codes, and

managing client cost expectations, which

can sometimes approach those of new

construction. A recent project, "Baan

986," highlights these complexities.

The project involved a fire-damaged

house, leaving only the foundation. We

designed an extension, integrating it with

the remaining foundation. This required

careful consideration of the surrounding

environment. Furthermore, the site was

inaccessible to vehicles, necessitating

significant manual labor for construction.

This project underscores the growing

need for renovation expertise and

problem-solving skills to navigate such

complexities.

How have you panned or set

goals for the future of your

studio?

Our goal in opening the design studio

was not just to build a design service

business, but also to maintain our

passion and principle in the work.

Beyond the unique challenges of

residential design, exploring new design

briefs in other project types is appealing.

However, a hurdle is our team's lack of

experience in certain project categories,

making it difficult for clients to entrust

us with those projects. A successful

example is the Sam Phran badminton

court project. Having never designed

a sports facility before, we faced

initial client skepticism. Ultimately, we

completed the project, receiving positive

feedback from the client on both the

aesthetics and project management. This

success stemmed from our dedication

to thorough research before making any

design decisions leading to Owner’s

trustiness. Now, with a growing portfolio

and experience, we are confident that

even if presented with an unfamiliar

project type, our research-based design

and team's work ethic will enable us to

successfully execute diverse projects,

even those in unfamiliar categories. We

look forward to future opportunities, both

domestic and international, to engage

with new challenges of all scales.


76

chat


CHUTAYAVES SINTHUPHAN

77

ถ้้าเป็็ นงานสถ้าปน ิกรููป็แบบเดิิม มองไปอ ีก 10 ถึึง 20 ปีี ข้้างหน้าในอนาคตมันก็อาจจะไม่

สอดิคล้้องกับยุุคสมัยุหรืือผูู้้คนในปัั จจุบันนัน ๆ แล้้วหรืือเป็ล้่า เล้ยุเป็็ นที่่มาข้องการปั้้ นงาน

WOW ข้ึ นมา

คุณชุตยุาเวศ สินธุพันธุ์

อุป็นายุก

อาษา: เนื่องจาก่คุณ์ชุตั้ยาเวศทัำางานก่้บ

สมาคมฯ มาอย่างตั้่อเนื ่องอยู่แล้ว สำาห่รับ

ตั้ำาแห่น่งอุปีนายก่ในวาระนี้นั้น มีโอก่าสได้เขึ้้า

มาดูแลงานส่วนใดเปี็ นห่ล้ก่และมีรายละเอียด

อย่างไร

ชุตยุาเวศ สินธุพันธุ์: สวัสดีครับ ผมชุตยาเวศ สินธุพันธุ์

อุปนายกสมาคมฯ ฝ่ายกิจกรรมพิเศษและกิจกรรมพัฒนา

เมือง รวมถึงฝ่ายต่างประเทศที่ตอนนี้ยังรับช่วงดูแลต่อเนื่อง

มาตั้งแต่สมัยนายกชนะด้วยครับ ในวาระนี้ถือว่ามีโอกาส

ได้เข้ามาช่วยดูแลงานกิจกรรมค่อนข้างหลายส่วน ซึ่งมีทั้ง

กิจกรรมที่ต่อยอดมาจากเดิมและกิจกรรมใหม่ ๆ ที่คณะ

กรรมการชุดนี้กำาลังช่วยกันผลักดันให้มันเกิดขึ้นด้วย ถ้า

พูดให้เห็นภาพว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง มันก็จะแบ่งแยกย่อย

ออกไปเยอะมากครับ งานใหญ่ที่รู้จักกันดีอยู่แล้วก็เช่น งาน

สถาปนิก งาน WOW และงาน Venice Biennale ไปจนถึง

งานซัพพอร์ตกิจกรรมต่าง ๆ ของส่วนภูมิภาค ซึ่งมันก็จะ

ไปเชื่อมโยงกับส่วนงานกิจกรรมพัฒนาเมืองร่วมด้วย รวม

ถึงฝ่ายต่างประเทศที่ผมยังดูแลต่อเนื่องมานั้นตรงนี้มันก็

เชื่อมโยงถึงกันหมด ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมที่เราจะไปร่วม

งานในต่างประเทศ งานประชุม หรือแนวทางการผลักดัน

สถาปนิกไทยในระดับนานาชาติ ผมก็จะช่วยดูภาพรวม

ทั้งหมดให้มันสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ

นโยบายหลักครับ

อาษา: สำาห่รับก่ิจก่รรมพัฒนาเมืองและฝ่่ าย

ตั้่างปีระเทัศ ทั้คุณ์ชุตั้ยาเวศดูแลควบคู่ไปี

ด้วยนั้น เขึ้้าใจว่าน่าจะเปี็ นก่ารดูแลภัาพรวม

ให่ญ่่ ๆ ขึ้องทั้ง 2 ฝ่่ ายใช่ไห่ม

ชุตยุาเวศ สินธุพันธุ์: ใช่ครับ ผมจะดูแลภาพใหญ่ อย่าง

ส่วนกิจกรรมพัฒนาเมืองก็จะมีกรรมการอีกท่านช่วยดูแล

อยู่ ก็คือ ผศ.ณธทัย จันเสน ตัวอย่างงานที่คุ้น ๆ กัน

ก็เช่น vernadoc แล้วก็เราพยายามที่จะไปทำางานร่วม

กับภูมิภาคในการพัฒนาเมืองส่วนต่าง ๆ ด้วย โดยตอน

นี้เราใช้งานสถาปนิกส่วนภูมิภาคเป็นจุดเชื่อมโยงงาน

พัฒนาเมืองตรงนี้ อย่างตอนที่กรรมาธิการทักษิณจัดงาน

สถาปนิกที่ปัตตานี เราก็มีกิจกรรมไปร่วมทำาแผนฟื้นฟูเมือง

ที่เรียกว่า Regenerative Development ก็คือเข้าไปทำางาน

กับคนพื้นที่โดยตรงเลย

ส่วนฝ่ายต่างประเทศก็เป็นการดูแลเรื่องความร่วมมือจาก

เหล่านานาประเทศที่เป็นพันธมิตรกับเรา จะมีกรรมการอีก

ท่านช่วยดูแลเช่นกัน ก็คือ ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ์ โดย

อาจารย์จะดูแลในส่วนของ 4 ประเทศ หรือ 4 Nations เป็น

หลัก ประกอบด้วย ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์

แล้วผมก็จะดูแลความร่วมมือกว้าง ๆ และดูแลประเทศ

อื่น ๆ ที่ไม่ใช่ 4 Nations ที่สนิทสนมกันมากขนาดนี้ ใน

4 Nations เราร่วมทำางานด้วยกันมาโดยตลอดอยู่แล้วนะ

ครับ อย่างงานสถาปนิกที่ปัตตานี เราก็มี workshop ของ

เด็กนานาชาติ ชื่อ Live Design Discourse ไปจัดด้วย ซึ่ง

ประสบความสำาเร็จดีมาก


78

chat

อาษา: แนวคิดในก่ารพัฒนาและตั้่อยอดก่ิจก่รรมทั้งห่มด

ขึ้องสมาคมฯ ในคณ์ะก่รรมก่ารบริห่ารชุดนี้เปี็ นอย่างไร

ชุตยุาเวศ สินธุพันธุ์: ก่อนอื่นโดยส่วนตัวมองเรื่องความต่อเนื่องของ

กิจกรรมเป็นสิ่งที่สำาคัญมากนะครับ ซึ่งในสมาคมฯ ก็จะมีงานบางอย่าง

ที่วางแผนและส่งต่อกันมานานหลายปีอยู่แล้วอย่างเช่น งานสถาปนิก

ของพวกเรา ซึ่งแน่นอนว่ามันก็คงเป็นงานที่จะถูกจัดต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ

ตามแบบแผนและวัตถุประสงค์ที่วางมาแต่ต้น โดยความน่าสนใจของ

งานในแต่ละปีก็จะถูกปรับและแฝงไปด้วยแง่มุมอะไรบางอย่างที่อาจจะ

สอดคล้องต่อวิถีชีวิตหรือสถานการณ์บ้านเมืองในช่วงนั้นไปครับ

ทีนี้พอพูดถึงเรื่องการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของสมาคมฯ นั้น เราก็มอง

ไปถึงว่ารูปแบบของงาน festival เนี่ยถ้าเป็นงานสถาปนิกรูปแบบเดิม

เลยนะครับ มองไปอีก 10 ถึง 20 ปีข้างหน้าในอนาคตมันก็อาจจะไม่

สอดคล้องกับยุคสมัยหรือผู้คนในปัจจุบันนั้น ๆ แล้วหรือเปล่า เลยเป็น

ที่มาของการปั้นงาน WOW ขึ้นมา เพื่อสังเกตทิศทางว่าสิ่งที่คนยุคใหม่

กำาลังสนใจกันนั้นสามารถนำามาปรับใช้กับการจัดงาน festival ได้มาก

น้อยแค่ไหน เพราะจากที่เห็นจะพบว่ารูปแบบและวิถีของคนรุ่นใหม่ใน

ยุค AI นั้นเริ่มเปลี่ยนไปอย่างชัดเจน ถ้าไม่ล้ำาสมัยไปเลยก็ดูเหมือนจะยัง

มีกลุ่มคนที่สนใจวิถีชีวิตเดิม ๆ แบบเรียบง่าย ดังนั้นงาน WOW เนี่ยเลย

เป็นงานที่พวกเราจะได้เห็นอะไรใหม่ ๆ ที่หลากหลายมากหรือฉีก

อะไรเดิม ๆ ออกไปเลยเหมือนกัน

อาษา: จาก่ส่วนงานทั้ง 3 ฝ่่ ายทั้คุณ์ชุตั้ยาเวศดูแลอยู่

ยังมีโครงก่ารอะไรอ้ก่บ้างทั้อยาก่ให่้สมาชิก่ตั้ิดตั้ามเปี็ น

พิเศษ

ชุตยุาเวศ สินธุพันธุ์: ก็คงเป็นโครงการที่เรากำาลังตั้งใจผลักดันกันมาก ๆ

อย่าง Venice Biennale ที่เราพยายามเสนอไอเดียและหาแนวทางร่วม

กับเอกชนเพื่อหาความเป็นไปได้ว่าเราจะสามารถทำา Biennale ในเมือง

ไทยของเราเองได้หรือไม่ ถึงแม้เราจะมี Art Biennale อยู่แล้ว แต่เรา

ก็คุยกันว่าอยากทำาให้มันครอบคลุมไปถึง Architecture Biennale ใน

เมืองไทยด้วยเลย ที่จะอ้างอิง format ให้เป็นรูปแบบเดียวกันกับ Venice

Biennale เลย ก็คือจัดเป็นปีเว้นปีสลับกันไป เรื่องนี้คือเรื่องที่เรากำาลัง

พยายามอยากให้เกิดขึ้นอยู่ อาจจะต้องใช้เวลาอีกสักพัก แต่มันก็เป็น

เรื่องที่พูดคุยกันจริงจังมาก คิดว่าก็ดูมีโอกาสมากที่เราจะได้เห็นงานนี้

เกิดขึ้นได้จริงครับ

ต่อมาเป็นส่วนงานฝ่ายต่างประเทศ ก็จะเป็นเรื่องของการมองว่า เราจะ

ทำาอย่างไรให้สมาชิกของเราได้ประโยชน์โดยตรง ไม่ว่าจะเป็นการทำา

จัด workshop จัด lecture หรือแม้แต่การจัดไปดูงานที่ต่างประเทศ

ซึ่งอะไรพวกนี้เราก็จัดกันต่อเนื่องมาโดยตลอดกับกลุ่มประเทศพันธมิตร

ของเรานะครับ แต่ที่เราพยายามทำาในขั้นถัดไปก็คือเราอยากสร้าง

ปรากฏการณ์ให้เกิดผลกระทบเชิงบวกต่อวิชาชีพสถาปนิกกลุ่มใหญ่

หรือในประเทศของเรา เลยมีการพูดคุยไปถึงเรื่องของการเป็นประธาน

จัดประชุมในระดับนานาชาติหรือระดับโลกกันเลยครับ แจ้งตามตรงว่า

ก็เป็นงานที่ต้องไป Bid มา อันนี้อยู่ในระหว่างการพูดคุยกับหน่วยงาน

ราชการที่ดูแลเรื่องการจัดงานประชุมต่าง ๆ ว่ามันมีความเป็นไปได้

มากน้อยแค่ไหนที่เราจะมาทำากันเอง ซึ่งถ้าได้ทำาจริง ๆ งานนี้ก็จะกลาย

เป็นงาน festival ใหญ่อันหนึ่ง เป็นงานประชุมนานาชาติระดับโลกของ

UIA World หรือ Congress of Architects ที่ถูกจัดขึ้นในเมืองไทย ซึ่ง

มันจะมาคู่กับ Capital City of Architecture ของ UNESCO ด้วย เขาก็

จะมาคู่กันมันก็เลยเป็นเรื่องที่คุยกันอยู่ว่าเราสมควรจะ Bid งานนี้ใหม่

สำาหรับงานปี 2032 อีก 7-8 ปี ข้างหน้า เพราะงานประชุมจะจัด

ทุก 3 ปี มันก็ต้องวางแผนกันล่วงหน้าเยอะ การ Bid มันเลยต้องล่วง

หน้ามาเยอะเช่นกัน ซึ่งงาน Bid จะเกิดขึ้นปีหน้านี้ ณ ตอนนี้ก็อยู่

ระหว่างการพูดคุยกับทุกภาคส่วน โดยเฉพาะ กทม. ด้วย เพราะ

กทม. จะต้องเป็นเจ้าบ้านของงานนี้ ถ้าเราเลือก กทม.


CHUTAYAVES SINTHUPHAN

79

อาษา: เนื่องจาก่วารสารธ่้ม Outbound ฉบับนี้ว่าด้วย

เรื่องผู้ลงานขึ้องสถาปีนิก่ไทัยทั้ไปีออก่แบบและก่่อสร้าง

ไก่ลถึงตั้่างปีระเทัศ ในฐานะทั้คุณ์ชุตั้ยาเวศ ดูแลส่วนงาน

ขึ้องฝ่่ ายตั้่างปีระเทัศด้วย จึงอยาก่ให่้แสดงความคิดเห่็น

สั้น ๆ

ชุตยุาเวศ สินธุพันธุ์: ถ้าพูดถึงงานต่างประเทศ เราก็คงจะเน้นความ

ร่วมมือในการหาโอกาสผลักดันคนไทยให้ไปต่างประเทศมากขึ้น คือเรา

ก็มีคนเก่ง ๆ อยู่แล้วที่เขาสามารถไปสร้างชื่อเสียงในต่างประเทศด้วย

ตัวเอง แต่โดยภาพรวมก็ยังถือว่าน้อยเหมือนกัน อย่างใน South East

Asia ยังเป็นเรื่องที่เสียดายอยู่ว่ารางวัลต่าง ๆ แทบจะยังมาไม่ถึงพวก

เราเท่าไหร่ แม้เราจะลองลิสต์รายชื่อสถาปนิกที่คิดว่าน่าจะได้ แต่ก็ยัง

ไม่ได้มาครองอยู่ดี ณ ปัจจุบันก็เลยมีความร่วมกับ ARCASIA หรือ

สมาพันธ์สถาปนิกแห่งเอเชียกันมากขึ้น โดยพูดคุยกันในเรื่องของความ

เป็นไปได้ที่จะทำาให้สถาปัตยกรรมในเอเชียของเรามันโดดเด่นหรือแข็ง

แรงขึ้นในภาพรวมใหญ่ ๆ คือแทนที่จะมัวแต่แข่งกันเอง คิดว่ามาผลัก

ดันกันไปสู่เวทีใหญ่ ๆ ที่ถูกจับตามองมากขึ้นด้วยดีกว่า โดยผมคิดว่า

การผลักดันตรงนี้น่าจะเริ่มในลักษณะของ Educate ที่จะไปบอกเล่า

ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรมของเราให้เป็นที่รู้จัก

ในวงกว้าง คือไม่อยากใช้คำาว่าเป็นที่รู้จักในระดับโลกเพราะคนไทยหลาย ๆ

คนก็อยู่ในระดับโลกอยู่แล้ว เพียงแต่เราอาจจะเป็นกลุ่มที่เฉพาะมาก ๆ

เลยคิดว่าจะทำายังไงให้เขารู้จักกลุ่มสถาปนิกไทยมากขึ้นมากกว่า

อีกอย่างคือจริง ๆ ต้องยอมรับว่าสถาปนิกไทยเก่งกันมากครับ แม้

กระทั่งธีม Venice Biennale ปีนี้ เราก็พูดถึงเรื่องการทำางานของ

สถาปนิกไทย คือเราต้องยอมรับอีกเรื่องด้วยว่าเราไม่ใช่ประเทศที่ R&D

แต่เราเป็นประเทศ OEM ถ้าพูดถึงเรื่องทางเศรษฐกิจของเราเลย ฉะนั้น

จะมาพูดเรื่อง Innovation อะไรมาก มันก็จะเป็นเรื่องของการผลิต

มากกว่า เราถึงได้เห็นตัวอย่างเป็นน้ำาพริกอัดก้อน นมอัดเม็ด อะไร

พวกนี้ ซึ่งมันก็น่าสนใจแต่มันไม่ใช่ Innovation ระดับเปลี่ยนโลกขนาดนั้น

จริง ๆ แล้วทางสถาปัตยกรรมเราก็มีสิ่งดี ๆ ที่อยู่ในระดับเปลี่ยนโลก

ได้นะ ผมรู้สึกว่าสถาปนิกไทยถ้าได้รับการสนับสนุนและการสื่อสารให้

มีความชัดเจนเป็นกลุ่มก้อน ผมเชื่อว่าจะสามารถโตไปด้วยกันได้ คือ

เราไม่ได้ผลักดันแค่คนใดคนหนึ่ง แต่อยากผลักดันให้มองเป็นภาพใหญ่

ภาพรวมว่าสถาปนิกไทยเป็นยังไง แล้วทำาไมคุณถึงต้องมาให้สถาปนิก

ไทยเป็นคนออกแบบให้

อาษา: ช่วยทัิ้งทั้ายห่รือฝ่าก่ถึงก่ิจก่รรมทั้ก่ำาลังจะจัดขึ้้

้น

เร็ว ๆ นี้ 2-3 ก่ิจก่รรม

ชุตยุาเวศ สินธุพันธุ์: เร็ว ๆ นี้เลย เราก็กำาลังจะมีงานใหญ่ก็คืองาน

สถาปนิกของเรา ที่เป็นงานที่ดีมาก ๆ ของวงการเราอยู่แล้ว ในส่วนของ

ตัวนิทรรศการในงาน กรรมการทุกท่านก็ตั้งใจทำางานกันมาทุกปีอยู่แล้ว

อย่างธีมก็น่าสนใจมากนะครับ เพราะเราพยายามที่จะย้อนกลับไปดูอดีต

ของเราแต่เราจะก้าวผ่านหรือไปต่อกันยังไง มันก็จะรวมไปถึงการผลักดัน

หรือ Outbound ที่เรากำาลังพูดถึงด้วย

อีกงานที่อยากจะฝากไว้ด้วยก็คือ Venice Biennale เป็นงานที่สมาคมฯ

ร่วมกับ สสร. ในการจัดทำาพาวิลเลียน ก็เราไม่ได้ไปมารอบหนึ่งหลัง

จากช่วงโควิดแล้วทางรัฐบาลไม่ได้สนับสนุนให้จัดงานในต่างประเทศ

มากนัก แต่ตอนนี้เรากลับมาทำาแล้ว แล้วเราก็จะไปในธีม Space Carfted

ซึ่งจะไม่ได้พูดถึงแค่สถาปนิกแต่จะพูดถึงทั้งสถาปัตยกรรมและการ

ผลิตของเราด้วย พูดถึงแม้กระทั่งช่าง การต่อยอดวิชาช่างต่าง ๆ ฉะนั้น

สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะพูดถึง Ecosystem ที่ทำาให้สถาปนิกไทย Unique

มาก ๆ ก็คือเราสามารถ Craft Space ได้ ซึ่งมีน้อยมากนะในโลกนี้ที่จะ

ออกแบบบ้านในราคา 10 ล้านบาท แต่เราสามารถ Custom วัสดุต่าง ๆ

ที่อยู่ในบ้านออกมาได้ ต่างจากประเทศอื่นที่ทุกอย่างจะต้องออกมาจาก

โรงงานเหมือน ๆ กันหมด เรื่องนี้ก็คือความแตกต่างของสถาปนิกไทยกับ

สถาปนิกประเทศอื่น ๆ ด้วยที่เราอยากนำาเสนอและผลักดันให้เป็นที่รู้จัก


80

folio

รัฐเซาท์ดาโคตา สหรัฐอเมริกา กำาลังเผชิญกับปรากฏการณ์

เมืองร้าง อันเป็นผลจากการอพยพของประชากรไปยังเมือง

ใหญ่ ปัจจุบัน รัฐแห่งนี้มีเมืองร้างราว 200 แห่ง นี่ไม่เพียงแต่

สะท้อนถึงการสูญเสียของจำานวนประชากร แต่ยังหมายถึงการ

สูญเสียประวัติศาสตร์อันล้ำาค่าของรัฐไปด้วย

เพื่อรักษาคุณค่าเมืองที่กำาลังเสื่อมสลาย ผู้เขียนเสนอแนวคิด

ในการสร้างแลนด์มาร์กแห่งใหม่ในเมืองเล็กๆ ชื่อ De Smet

สถานที่แห่งนี้จะเป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ

ประวัติศาสตร์ของเซาท์ดาโคตา สถาปัตยกรรมหลักประกอบ

ด้วยหอคอยชมวิวที่เปิดมุมมองสู่ความงดงามของระบบนิเวศ

Big Slough และอนุสรณ์สถานที่อุทิศให้กับเมืองร้างของรัฐ

ตัวโครงสร้างถูกออกแบบให้เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง ทั้ง

สำาหรับผู้คนและธรรมชาติของพื้นที่ชุ่มน้ำ าสร้างปรากฏการณ์

ที่จะกลายเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว เสริมสร้างความเชื่อมโยง

ที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นกับมรดกทางวัฒนธรรมของภูมิภาค และทำาให้

De Smet กลายเป็นประตูสู่การสำารวจภูมิทัศน์และประวัติศาสตร์

อันหลากหลายของรัฐเซาท์ดาโคตา

South Dakota, USA, has been experiencing urban

decay as migration to larger cities has led to the

decline of nearly 200 ghost towns. This loss extends

beyond population decline, erasing the history,

culture, and identity of these once culturally rich

settlements.

To preserve and honor these fading towns, I propose

a landmark for De Smet—an institution dedicated to

educating visitors about South Dakota’s landscape

and history. Serving as both a watchtower for the

wetland ecosystem and a monument to the state’s

abandoned cities, the structure adapts to Big Slough’s

seasonal wetlands through natural and human-induced

transformations. This dynamic design would

attract tourists, fostering a deeper connection to

the region’s rich heritage and positioning De Smet

as a gateway to exploring South Dakota’s diverse

landscapes.

ณ์้ฐพ้ทัธ่์ โชตั้านันตั้์วุฒิ

ปั จจุบันกำลังศึกษาระดับ

ปริญญาตรีชั้นปี ที่ 3 คณะ

สถาปั ตยกรรมศาสตร์

หลักสูตรนานาชาติ (International

Program in

Design and Architecture

– INDA) จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย มีความสนใจ

ด้านสถาปั ตยกรรมที่มุ่งเน้น

คุณภาพชีวิตของสังคม

และ Localized Architecture

ซึ ่งให้ความสำคัญกับ

บริบทของพื้นที่ที่อาคารตั้ง

อยู่ ในปี 2565 ได้รับรางวัล

ชนะเลิศระดับประเทศจาก

FAAMAI Youth Projection

Mapping Competition

2022 และในปี 2567 ได้

รับ Student Award จาก

การแข่งขันระดับนานาชาติ

ที่จัดโดย Buildner ภาย

ใต้หัวข้อการแข่งขัน "The

Legendary Highway

14 Tower"—โครงการ

ออกแบบหอสังเกตการณ์

สำหรับเมือง De Smet

รัฐเซาท์ดาโคตา สหรัฐ-

อเมริกา นอกจากนี้ยังได้มี

อีกโปรเจกต์ ที่รับคัดเลือก

เป็ นหนึ ่งใน Shortlisted

Projects ของ Buildner's

Unbuilt Award 2024

Natthaphat

Chotananwut

Currently a third-year

undergraduate student

in the International

Program in Design and

Architecture (INDA) at

the Faculty of Architecture,

Chulalongkorn

University, with a strong

focus on architecture

that enhances societal

well-being and localized

architecture, which

emphasizes contextual

integration within its

surroundings.

In 2022, awarded first

place at the national level

in the FAAMAI Youth

Projection Mapping

Competition 2022.

In 2024, received the

Student Award in an international

competition

organized by Buildner

under the theme "The

Legendary Highway 14

Tower," proposing an

observation tower for

De Smet, South Dakota,

USA. Additionally,

another project was

shortlisted for the

Buildner's Unbuilt

Award 2024.



Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!